ข้ามไปเนื้อหา

นูแวลฟร็องส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นูแวลฟร็องส์

Nouvelle-France (ฝรั่งเศส)
1534–1763
ธงชาติ
ธงฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้นหรือ "ธงบูร์บง" เป็นธงที่ใช้กันโดยทั่วไปในนูแวลฟร็องส์[1][2][3][4][5]
ตราอาร์มฝรั่งเศส ซึ่งรัฐบาลใช้ของ
ตราอาร์มฝรั่งเศส
ซึ่งรัฐบาลใช้
คำขวัญ
ที่ตั้งของนูแวลฟร็องส์ (สีเขียวเข้ม)
ที่ตั้งของนูแวลฟร็องส์ (สีเขียวเข้ม)
สถานะอุปราชแห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศส
เมืองหลวงควิเบก
ภาษาทั่วไปฝรั่งเศส
ศาสนา
โรมันคาทอลิก
การปกครองราชาธิปไตย
พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส 
• 1534–1547
พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 (องค์แรก)
• 1715–1763
พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 (องค์สุดท้าย)
อุปราชแห่งนูแวลฟร็องส์ 
• 1534–1541
ฌัก การ์ตีเย (คนแรก; ในฐานะผู้ว่าการนูแวลฟร็องส์)
• 1755–1760
ปีแยร์ เดอ รีโก (คนสุดท้าย)
สภานิติบัญญัติสภาอธิปัตย์
ยุคประวัติศาสตร์ยุคอาณานิคม/สงครามฝรั่งเศสและอินเดียน
• ฌัก การ์ตีเยเริ่มสำรวจแคนาดา
24 กรกฎาคม 1534
3 กรกฎาคม ค.ศ. 1608
• อาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยอสร้างบริษัทนูแวลฟร็องส์ ซึ่งมีส่วนในการล่าอาณานิคมประเทศนี้
29 เมษายน ค.ศ. 1627
• พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 รวมนูแวลฟร็องส์ไปเป็นดินแดนหลวง (royal domain) ยกเขตบริหารใหม่ และก่อตั้งบริษัทอินเดียตะวันตกฝรั่งเศส
18 กันยายน ค.ศ. 1663
• ฝรั่งเศสยกพื้นที่อคาเดียส่วนใหญ่ให้กับราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ เช่นเดียวกันกับดินแดนอ้างสิทธิในเกาะนิวฟันด์แลนด์และอ่าวฮัดสัน ตามสนธิสัญญายูเทรกต์
11 เมษายน ค.ศ. 1713
28 พฤษภาคม ค.ศ. 1754
• ฝรั่งเศสที่นำโดยหลุยส์-โฌแซ็ฟ เดอ มงกาล์ม พ่ายแพ้ใน"ที่ราบอับราฮัม" ใกล้ควิเบก
13 กันยายน ค.ศ. 1759
10 กุมภาพันธ์ 1763
สกุลเงินลีฟวร์ตูร์นัว
ก่อนหน้า
ถัดไป
Adai
Algonquians
Atakapas
Beothuks
Caddoan
Chitimachas
Inuit
Iroquois
Muscogee
Natchez
Sioux
Tunica
Yuchis
รัฐควิเบก
รัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์
รัฐโนวาสโกเชีย
ดินแดนอินเดียน
ลุยเซียนา
แซ็งปีแยร์และมีเกอลง
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศแคนาดา
สหรัฐ
แซ็งปีแยร์และมีเกอลง

นูแวลฟร็องส์ (ฝรั่งเศส: Nouvelle-France) เป็นพื้นที่ที่ฝรั่งเศสสถาปนาอาณานิคมขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือ โดยเริ่มต้นจากการสำรวจบริเวณอ่าวเซนต์ลอว์เรนซ์โดย ฌัก การ์ตีเย ใน ค.ศ. 1534 และสิ้นสุดลงด้วยการยกดินแดนนูแวลฟร็องส์ให้กับบริเตนใหญ่และสเปน ภายใต้สนธิสัญญาปารีสใน ค.ศ. 1763

ดินแดนอันกว้างใหญ่ของนูแวลฟร็องส์ ณ จุดที่มีอาณาเขตมากที่สุด ใน ค.ศ. 1712 ประกอบด้วยอาณานิคม 5 เขต โดยในแต่ละเขตก็จะมีการปกครองเป็นของตนเอง ซึ่งประกอบด้วย แคนาดา ซึ่งเป็นอาณานิคมที่มีการพัฒนามากที่สุด โดยแบ่งออกเป็นเขตต่าง ๆ ดังนี้ เกแบ็ก ทรัวรีวีแยร์ และมอนทรีออล, อ่าวฮัดสัน, อะคาเดียซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือ, แปลแซ็นส์ (Plaisance) ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะนิวฟันด์แลนด์ และลุยเซียนา[6][7] นูแวลฟร็องส์ครอบคลุมพื้นที่จากนิวฟันด์แลนด์จรดไปถึงทุ่งหญ้าแคนาดา (Canadian Prairies) และจากอ่าวฮัดสันจรดไปถึงอ่าวเม็กซิโก รวมไปถึงมหาทะเลสาบแห่งอเมริกาเหนือ

ดินแดนถูกแบ่งออกเป็นหลายเขตอาณานิคมซึ่งต่างมีการปกครองเป็นของตนเอง ได้แก่: แคนาดา อคาเดีย นิวฟันด์แลนด์ และ หลุยส์เซียนา ฝรั่งเศสปกครองดินแดนนี้ไปจนกระทั่งเมื่อฝรั่งเศสพ่ายแพ้ในสงครามเจ็ดปี ก็ต้องเสียดินแดนบริเวณนี้ไปแก่อังกฤษและสเปนจากผลของสนธิสัญญาปารีส เหลือไว้แต่แซ็งปีแยร์และมีเกอลง โดยอังกฤษได้ดินแดนส่วนแคนาดา, อคาเดีย และส่วนหนึ่งของหลุยส์เซียนา ในขณะที่สเปนได้อีลโดร์เลอ็อง (Île d'Orléans) พร้อมกับดินแดนไปทางตะวันตก

อ้างอิง

[แก้]
  1. The Governor General of Canada. "Royal Banner of France - Heritage Emblem". Confirmation of the blazon of a Flag. February 15, 2008 Vol. V, p. 202. The Office of the Secretary to the Governor General.
  2. New York State Historical Association (1915). Proceedings of the New York State Historical Association with the Quarterly Journal: 2nd-21st Annual Meeting with a List of New Members. The Association. It is most probable that the Bourbon Flag was used during the greater part of the occupancy of the French in the region extending southwest from the St. Lawrence to the Mississippi , known as New France... The French flag was probably blue at that time with three golden fleur - de - lis ....
  3. "Background: The First National Flags". The Canadian Encyclopedia. 28 November 2019. สืบค้นเมื่อ 1 March 2021. At the time of New France (1534 to the 1760s), two flags could be viewed as having national status. The first was the banner of France — a blue square flag bearing three gold fleurs-de-lys. It was flown above fortifications in the early years of the colony. For instance, it was flown above the lodgings of Pierre Du Gua de Monts at Île Sainte-Croix in 1604. There is some evidence that the banner also flew above Samuel de Champlain’s habitation in 1608. ..... the completely white flag of the French Royal Navy was flown from ships, forts and sometimes at land-claiming ceremonies.
  4. "INQUINTE.CA | CANADA 150 Years of History ~ The story behind the flag". inquinte.ca. When Canada was settled as part of France and dubbed "New France," two flags gained national status. One was the Royal Banner of France. This featured a blue background with three gold fleurs-de-lis. A white flag of the French Royal Navy was also flown from ships and forts and sometimes flown at land-claiming ceremonies.
  5. Wallace, W. Stewart (1948). "Flag of New France". The Encyclopedia of Canada. Vol. II. Toronto: University Associates of Canada. pp. 350–351. During the French régime in Canada, there does not appear to have been any French national flag in the modern sense of the term. The "Banner of France", which was composed of fleur-de-lys on a blue field, came nearest to being a national flag, since it was carried before the king when he marched to battle, and thus in some sense symbolized the kingdom of France. During the later period of French rule, it would seem that the emblem...was a flag showing the fleur-de-lys on a white ground.... as seen in Florida. There were, however, 68 flags authorized for various services by Louis XIV in 1661; and a number of these were doubtless used in New France
  6. Francis, R. Douglas; Jones, Richard; Smith, Donald B. (2009). Journeys: A History of Canada. Cengage Learning. p. 51. ISBN 978-0-17-644244-6.
  7. "La Nouvelle France: Le Territoire" [New France: The Territory] (ภาษาฝรั่งเศส). Government of France. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 September 2008. สืบค้นเมื่อ 16 January 2017.

อ่านเพิ่ม

[แก้]

ผลงานยุคคลาสสิก

[แก้]

ข้อมูลปฐมภูมิ

[แก้]
  • Lawn, Katherine; Salvucci, Claudio, บ.ก. (2005). Women in New France: Extracts from the Jesuit Relations. Bristol, Penn.: Evolution Publishing.

ประวัติศาสตร์นิพนธ์

[แก้]

ในภาษาฝรั่งเศส

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]