ซ่ง เหม่ย์หลิง
ซ่ง เหม่ย์หลิง | |
---|---|
宋美齡 | |
สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสาธารณรัฐจีน | |
ดำรงตำแหน่ง 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1948 – 5 เมษายน ค.ศ. 1975 | |
ประธานาธิบดี | เจียง ไคเชก |
ถัดไป | Liu Chi-chun |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 05 มีนาคม ค.ศ. 1898 เซี่ยงไฮ้, มณฑลเจียงซู, ราชวงศ์ชิง, จีน[1] |
เสียชีวิต | ตุลาคม 23, 2003 นครนิวยอร์ก, รัฐนครนิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา | (105 ปี)
ที่ไว้ศพ | Ferncliff Cemetery, Hartsdale, New York, United States of America |
เชื้อชาติ | สาธารณรัฐจีน |
ศาสนา | เมทอดิสต์ |
พรรคการเมือง | ก๊กมินตั๋ง (พรรคชาตินิยมจีน) |
การเข้าร่วม พรรคการเมืองอื่น | พรรคริพับลิกัน (สหรัฐอเมริกา) |
คู่สมรส | เจียง ไคเชก |
บุตร | Chiang Ching-kuo (step-son) Chiang Wei-kuo (adopted) |
ญาติ | Charlie Soong (father) Ni Kwei-tseng (mother) ซ่ง ชิ่งหลิง (พี่สาวคนกลาง) ซ่ง อ้ายหลิง (พี่สาวคนโต) |
ศิษย์เก่า | Wellesley College, Wellesley, MA |
อาชีพ | สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสาธารณรัฐจีน |
ซ่ง เหม่ย์หลิง | |||||||||||||||||||||
"Soong Mei-ling" in Traditional (top) and Simplified (bottom) Chinese characters | |||||||||||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 宋美齡 | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 宋美龄 | ||||||||||||||||||||
|
ซ่ง เหม่ย์หลิง (จีน: 宋美齡; พินอิน: Sòng Měilíng; 5 มีนาคม ค.ศ. 1898 – 23 ตุลาคม ค.ศ. 2003) ยังเป็นที่รู้จักกันคือ มาดามเจียง ไคเชก หรือ มาดามเจียง เป็นบุคคลสำคัญในวงการเมืองจีนที่เป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสาธารณรัฐจีน ภรรยาของ Generalissimo (จอมทัพ) และประธานาธิบดี เจียง ไคเชก ซ่งได้มีบทบาทสำคัญในวงการเมืองของสาธารณรัฐจีนและเป็นน้องสะใภ้ของซุน ยัตเซ็น ผู้ก่อตั้งและผู้นำสาธารณรัฐจีน เธอได้ทำงานในชีวิตพลเรือนในประเทศของเธอและดำรงตำแหน่งอย่างรวดเร็วและกิตติมศักดิ์ รวมถึงประธานหญิงของมหาวิทยาลัยฟู เจน ในช่วงสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง เธอได้รวมรวมประชาชนในการต่อต้านการรุกรานของญี่ปุ่นและในปี ค.ศ. 1943 ได้ดำเนินการด้วยการเที่ยวกล่าวสุนทรพจน์เป็นเวลาแปดเดือนในสหรัฐอเมริกาเพื่อให้ได้รับการสนับสนุน เธอยังเป็นลูกสาวคนสุดท้องและผู้รอดชีวิตคนสุดท้ายของสามพี่น้องตระกูลซ่ง และเป็นหนึ่งในสองสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง (พร้อมกับสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี ค.ศ. 1900-2002) ที่มีชีวิตเข้าสู่ช่วงศตวรรษที่ 21 ชีวิตของเธอนั้นได้ก้าวข้ามมาถึงสามศตวรรษแล้ว
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- ไทย : ค.ศ. 1964 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 1 ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) (ฝ่ายใน) [2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ The New York Times gives her place of birth as Shanghai, while the BBC and Encyclopædia Britannica give it as Wenchang, Hainan island (which was then part of Guangdong Province).
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2014-12-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๑, ตอน ๒๒ ง, ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๗, หน้า ๕๗๒