ข้ามไปเนื้อหา

รัฐชัมมูและกัศมีร์

พิกัด: 33°27′N 76°14′E / 33.45°N 76.24°E / 33.45; 76.24
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก กัษมีร์)
ชัมมูและกัศมีร์
जम्मू और कश्मीर
جموں و کشمیر‎
อดีตรัฐ
1954 – 2019
Flag of ชัมมูและกัศมีร์
ธง
ตรา of ชัมมูและกัศมีร์
ตรา

แผนที่ของชัมมูและกัศมีร์
เมืองหลวงศรีนคร (พฤษภาคม-ตุลาคม)
ชัมมู (พฤศจิกายน-เมษายน)[1]
พื้นที่
 • พิกัด33°27′N 76°14′E / 33.45°N 76.24°E / 33.45; 76.24
การปกครอง
ผู้ว่าการรัฐ 
• 1954–1965 as Sadr-e-Riyasat; 1965–1967
กรัน สิงห์ (คนแรก)
• 2018–2019[2]
สัตยะ ปาล มาลิก (คนสุดท้าย)
มุขยนายก 
• 1947–1948 เป็น นายกรัฐมนตรี
เมหร์ จันท์ มหาชน (คนแรก)
• 2016–2018[3]
เมห์บูบา มูฟตี (คนสุดท้าย)
ฝ่ายนิติบัญญัตินิติบัญญัติรัฐ
• สภาสูง
สภานิติบัญญัติ (36 ที่นั่ง)
• สภาล่าง
รัฐสภานิติบัญญัติ (89 ที่นั่ง)
ประวัติศาสตร์ 
14 พฤษภาคม 1954
31 ตุลาคม 2019
หน่วยย่อยทางการเมือง22 อำเภอ
ก่อนหน้า
ถัดไป
ชัมมูและกัศมีร์ (รัฐมหาราชา)
ชัมมูและกัศมีร์ (ดินแดนสหภาพ)
ลาดัก

ชัมมูและกัศมีร์ (ฮินดี: जम्मू और कश्मीर; อูรดู: جموں و کشمیر) หรือ จัมมูและแคชเมียร์ (อังกฤษ: Jammu and Kashmir) เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของประเทศอินเดีย อดีตเขตการปกครองประเภทรัฐ ที่ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของประเทศอินเดีย ดินแดนส่วนมากตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากนั้นยังเป็นบริเวณพิพาทระหว่างอินเดีย ปากีสถานและจีน

ประวัติศาสตร์

[แก้]

รัฐชัมมูและกัศมีร์เคยเป็นดินแดนที่เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ต่อมาได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม เคยอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิดุรรานีในอัฟกานิสถาน จักรวรรดิโมกุล ในอินเดีย และเคยอยู่ภายใต้การปกครองของชาวสิกข์ ภายหลังขับไล่ชาวสิกข์ออกไปได้ ในยุคที่อังกฤษเข้ามา กษัตริย์ของชัมมูและกัศมีร์ช่วยอังกฤษรบกับชาวสิกข์และได้เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ เมื่ออังกฤษให้เอกราชแก่อินเดียและมีการแบ่งเป็นอินเดียและปากีสถาน รัฐชัมมูและกัศมีร์กลายเป็นกรณีพิพาทของทั้งสองประเทศจวบจนปัจจุบัน

วันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2019 รัฐบาลอินเดียประกาศยุบรัฐชัมมูและกัศมีร์ โดยแบ่งพื้นที่รัฐออกเป็น 2 ดินแดนสหภาพ ได้แก่ ชัมมูและกัศมีร์ และลาดัก[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Desk, The Hindu Net (8 May 2017). "What is the Darbar Move in J&K all about?". The Hindu (ภาษาIndian English). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 November 2017. สืบค้นเมื่อ 23 February 2019.
  2. "Satya Pal Malik sworn in as Jammu and Kashmir governor". The Economic Times. Press Trust of India. 23 August 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2018. สืบค้นเมื่อ 31 August 2018.
  3. "BJP-PDP alliance ends in Jammu and Kashmir LIVE updates: Mehbooba Mufti resigns as chief minister; Governor's Rule in state". Firstpost. 19 June 2018. สืบค้นเมื่อ 19 June 2018.
  4. Already, Rajya Sabha Clears J&K As Union Territory Instead Of State, NDTV, 5 August 2019.