กองทัพปากีสถาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพปากีสถาน
پاک مسلح افواج
ก่อตั้งพ.ศ. 2490
เหล่ากองทัพบก
กองทัพเรือ
กองทัพอากาศ
กำลังพิทักษ์ชายแดน
กองบัญชาการราวัลปินดี
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการทหารอาซิฟ อาลี ซาร์ดารี
กำลังพล
การเกณฑ์ไม่มี
ประชากร
วัยบรรจุ
1,292,471, อายุ 16-49 (2548)
ประชากร
ฉกรรจ์
934,317, อายุ 16-49 (2548)
ประชากรวัยถึงขั้น
ประจำการทุกปี
(2548)
ยอดประจำการ619,000 (อันดับที่ 7)
ยอดสำรอง528,000 (2554)
รายจ่าย
งบประมาณ6,410 ล้าน ดอลลาร์ (2554)
ร้อยละต่อจีดีพี2.6% (2554)
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตในประเทศST Engineering Ltd
แหล่งผลิตนอกประเทศ จีน
 สหรัฐ
 ออสเตรีย
 เบลเยียม
 ฝรั่งเศส
 เยอรมนี
 อิตาลี
 สวีเดน
 ตุรกี
 รัสเซีย

กองทัพปากีสถาน เป็นกำลังทหารของประเทศปากีสถาน เป็นกองทัพที่ใหญ่ที่สุดอันดับเจ็ดของโลกในแง่กำลังประจำการ กองทัพประกอบด้วยสามเหล่าหลัก คือ กองทัพบก กองทัพเรือ (ซึ่งรวมนาวิกโยธินปากีสถาน) และกองทัพอากาศ ร่วมกับกำลังกึ่งทหารและกำลังกองพลแผนยุทธศาสตร์

ประวัติ[แก้]

โครงสร้างองค์กร[แก้]

งบประมาณ[แก้]

บุคลากร[แก้]

กำลังพลประจำการ[แก้]

กำลังพลสำรอง[แก้]

การศึกษา[แก้]

ยุทธภัณฑ์[แก้]

อาวุธประจำกาย[แก้]

อาวุธประจำหน่วย[แก้]

อาวุธนิวเคลียร์[แก้]

ศาลทหาร[แก้]

ความสัมพันธ์ทางทหาร[แก้]

ปากีสถานได้เปิดความสัมพันธ์ทางทหารกับสาธารณรัฐประชาชนจีน รวมถึงการพัฒนาและความร่วมมือการวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการทหาร เช่น เจเอฟ17-ทันเดอร์ เค-8 คาราคอรัม และอื่นๆ จีนเป็นประเทศผู้ผลิตชั่นนำในการสงออกอุปกาณ์ทางทหารไปยังปากีสถาน ประเทศทั้งสองยังให้ความร่วมมือกันพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ และ โครงการอวกาศ กองทัพปากีสถานยังมือความสัมพันธ์ทางทหารกับกองทัพสหรัฐอเมริกา และ เป็นพันธมิตรนาโต้ที่มิใช่รายใหญ่ของสหรัฐอเมริกา และยังเป็นประเทศหลักในการนำเข้าอุปกรณ์ทางทหารจากประเทศจีนและสหรัฐอเมริกา

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แม่แบบ:ประเทศปากีสถาน แม่แบบ:กองทัพปากีสถาน

แม่แบบ:กองกำลังเครือจักรภพแห่งประชาชาติ