อาปรามัยซิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาปรามัยซิน
ข้อมูลทางคลินิก
AHFS/Drugs.comInternational Drug Names
รหัส ATCvet
ตัวบ่งชี้
  • (2R,3R,4R,5S,6R) -5-amino-2- [((1R,2R,3R,4R,6R,8R) -8-amino-9- [(1R,2S,3R,4R,6R) -4,6-diamino-2,3- dihydroxy-cyclohexyl]oxy-2-hydroxy- 3-methylamino-5,10- dioxabicyclo[4.4.0]dec-4-yl) oxy]-6- (hydroxymethyl) oxane-3,4-diol
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.048.582
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC21H41N5O11
มวลต่อโมล539.58 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O3[C@H](O[C@H]1O[C@H](CO) [C@@H](N) [C@H](O) [C@H]1O) [C@@H](NC) [C@@H](O) [C@H]4O[C@H](O[C@@H]2[C@@H](N) C[C@@H](N) [C@H](O) [C@H]2O) [C@H](N) C[C@H]34
  • InChI=1S/C21H41N5O11/c1-26-11-14 (30) 18-8 (33-20 (11) 37-21-16 (32) 13 (29) 10 (25) 9 (4-27) 34-21) 3-7 (24) 19 (36-18) 35-17-6 (23) 2-5 (22) 12 (28) 15 (17) 31/h5-21,26-32H,2-4,22-25H2,1H3/t5-,6+,7-,8+,9-,10-,11+,12+,13+,14-,15-,16-,17-,18+,19+,20-,21-/m1/s1 checkY
  • Key:XZNUGFQTQHRASN-XQENGBIVSA-N checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

อาปรามัยซิน (อังกฤษ: Apramycin) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า นีบรามัยซิน ทู (Nebramycin II) เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ซึ่งถูกนำมาใช้เป็นยารักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียอย่างกว้างขวางในการปศุสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ Escherichia coli, Klebsiella pneumoniae, และ Pseudomonas aeruginosa.อาปรามัยซินสามารถผลิตได้จากเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces tenebrarius[1] ค่าความเข้มข้นต่ำสุดของอาปรามัยซินที่มียับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียทั้ง 3 สายพันธุ์ดังข้างต้น ดังแสดงต่อไปนี้[2]

  • Escherichia coli - 1 μg/mL - >512 μg/mL (ค่าที่ได้อยู่ในช่วงกว้างเนื่องมาจากการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียสายพันธุ์นี้ ในกรณีปกติที่เชื้อไม่ดื้อยาจะมีค่า MIC อยู่ในช่วง 2 -8 μg/mL)
  • Klebsiella pneumoniae - 2 μg/mL - >256 μg/mL
  • Pseudomonas aeruginosa - 4 μg/mL

อ้างอิง[แก้]

  1. R. Ryden; B. J. Moore (1977). "The in vitro activity of apramycin, a new aminocyditol antibiotic". J Antimicrob Chemother. 3 (6): 609–613. doi:10.1093/jac/3.6.609. PMID 340441.
  2. Toku-E. "Apramycin – The Antimicrobial Index Knowledgebase". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-06. สืบค้นเมื่อ 14 January 2018.