วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2023
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1977
จำนวนทีม16
ทวีประหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติจีน จีน (4 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติบราซิล บราซิล (6 สมัย)

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี (อังกฤษ: FIVB Volleyball Women's U21 World Championship) หรือชื่อเดิม วอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIVB Volleyball Women's Junior World Championship) ตั้งแต่ ค.ศ. 2007 ถึง ค.ศ. 2011 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายอายุไม่เกิน 20 ปี ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี)

การแข่งขันครั้งแรกได้รับจัดขึ้นในปี ค.ศ. 1977 ที่ประเทศบราซิล และการแข่งขันได้รับการจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี สำหรับครั้งที่ 1 ถึง ครั้งที่ 3 และตั้งแต่ครั้งที่ 4 ได้รับการจัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี โดยการแข่งขันครั้งล่าสุดจัดขึ้นที่อากวสกาเลียนเตส และเลออน ประเทศเม็กซิโก และทีมชนะเลิศคือทีมชาติจีน

เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2022 คณะกรรมการบริหารของเอฟไอวีบี ได้ตัดสินใจเปลี่ยนประเภทอายุของการแข่งขันโดยเปลี่ยนประเภทอายุต่ำกว่า 20 ปีก่อนหน้านี้เป็นรุ่นอายุต่ำกว่า 21 ปี เพื่อให้เทียบเท่ากับการแข่งขันชิงแชมป์โลกชาย รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี

ทีมชาติบราซิลเป็นประเทศที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประวัติศาสตร์การแข่งขัน โดยชนะเลิศ 6 สมัย และรองชนะเลิศ 5 สมัย ทีมชาติจีนเป็นประเทศที่สองที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด โดยชนะเลิศ 4 สมัย

การแข่งขันที่คล้ายกันสำหรับประเภททีมชายคือ วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี

สรุปการแข่งขัน[แก้]

ปี ค.ศ. เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวน
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1977
รายละเอียด
บราซิล
เซาเปาโล

เกาหลีใต้
พบกันหมด
จีน

ญี่ปุ่น
พบกันหมด
บราซิล
14
1981
รายละเอียด
เม็กซิโก
เม็กซิโกซิตี

เกาหลีใต้
3–1
เปรู

ญี่ปุ่น
3–0
เม็กซิโก
15
1985
รายละเอียด
อิตาลี
มิลาน

คิวบา
3–1
ญี่ปุ่น

จีน
3–1
บราซิล
15
1987
รายละเอียด
เกาหลีใต้
โซล

บราซิล
3–0
เกาหลีใต้

จีน
3–2
ญี่ปุ่น
13
1989
รายละเอียด
เปรู
ลิมา

บราซิล
3–2
คิวบา

ญี่ปุ่น
3–0
เปรู
16
1991
รายละเอียด
เชโกสโลวาเกีย
เบอร์โน

สหภาพโซเวียต
3–0
บราซิล

ญี่ปุ่น
3–1
จีน
16
1993
รายละเอียด
บราซิล
บราซิเลีย

คิวบา
3–0
ยูเครน

เกาหลีใต้
3–0
เปรู
16
1995
รายละเอียด
ไทย
กรุงเทพมหานคร

จีน
3–0
บราซิล

รัสเซีย
3–0
ญี่ปุ่น
16
1997
รายละเอียด
โปแลนด์
กดัญสก์

รัสเซีย
3–0
อิตาลี

จีน
3–0
ญี่ปุ่น
16
1999
รายละเอียด
แคนาดา
ซัสคาทูน

รัสเซีย
3–0
บราซิล

เกาหลีใต้
3–2
จีน
16
2001
รายละเอียด
สาธารณรัฐโดมินิกัน
ซานโตโดมิงโก

บราซิล
3–0
เกาหลีใต้

จีน
3–0
อิตาลี
16
2003
รายละเอียด
ไทย
สุพรรณบุรี

บราซิล
3–2
จีน

โปแลนด์
3–0
เนเธอร์แลนด์
16
2005
รายละเอียด
ตุรกี
อังการา / อิสตันบูล

บราซิล
3–1
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร

จีน
3–2
อิตาลี
12
2007
รายละเอียด
ไทย
นครราชสีมา

บราซิล
3–1
จีน

ญี่ปุ่น
3–2
สหรัฐ
12
2009
รายละเอียด
เม็กซิโก
เมฆิกาลิ / ติฆัวนา

เยอรมนี
3–0
สาธารณรัฐโดมินิกัน

บราซิล
3–2
บัลแกเรีย
16
2011
รายละเอียด
เปรู
ลิมา / ตรูฆิโย

อิตาลี
3–1
บราซิล

จีน
3–1
สหรัฐ
16
2013
รายละเอียด
เช็กเกีย
เบอร์โน

จีน
3–0
ญี่ปุ่น

บราซิล
3–0
อิตาลี
20
2015
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
ปวยร์โตรีโก

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–2
บราซิล

อิตาลี
3–0
ญี่ปุ่น
16
2017
รายละเอียด
เม็กซิโก
โบกาเดลริโอ / กอร์โดบา

จีน
3–0
รัสเซีย

ญี่ปุ่น
3–2
ตุรกี
16
2019
รายละเอียด
เม็กซิโก
อากวัสกาเลียนเตส / เลออน

ญี่ปุ่น
3–2
อิตาลี

รัสเซีย
3–1
ตุรกี
16
2021
รายละเอียด
เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม
เนเธอร์แลนด์ / เบลเยี่ยม

อิตาลี
3–0
เซอร์เบีย

รัสเซีย
3–2
เนเธอร์แลนด์
16

ตารางเหรียญการแข่งขัน[แก้]

ลำดับที่Nationทองเงินทองแดงรวม
1 บราซิล65213
2 จีน33612
3ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้2226
4 อิตาลี2215
5 รัสเซีย2136
6 คิวบา2103
7 ญี่ปุ่น1269
8 สาธารณรัฐโดมินิกัน1102
9 สหภาพโซเวียต1001
 เยอรมนี1001
11ธงชาติยูเครน ยูเครน0101
ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย0101
ธงของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกร0101
 เปรู0101
15ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์0011
รวม (15 nation)21212163

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]