ซีอีวีคัพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซีอีวีคัพ
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน ซีอีวีคัพ ฤดูกาล 2023–24
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1972
จำนวนทีม32 ทีม
ประเทศสมาชิก ซีอีวี
ทวีปยุโรป
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอิตาลี โมเดนาวอลเลย์ (4 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดอิตาลี โมเดนาวอลเลย์
รัสเซีย ดีนาโมมอสโก
(4 สมัย)
เว็บไซต์Website

ซีอีวีคัพ (อังกฤษ: CEV Cup) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับชั้นที่สองของสโมสรวอลเลย์บอลในทวีปยุโรป รองจากซีอีวีแชมเปียนส์ลีก และจัดการแข่งขันขึ้นเป็นประจำทุกปี ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี) นับตั้งแต่ก่อตั้งการแข่งขันขึ้นได้ใช้ชื่อว่า ซีอีวีคัพวินเนอร์คัพ (CEV Cup Winners' Cup)

โดยตั้งแต่ฤดูกาล 2000-01 ได้มีการเปลี่ยนชื่อการแข่งขันเป็น ซีอีวีท็อปทีมคัพ (CEV Top Teams Cup)[1] และตั้งแต่ฤดูกาล 2007-08 ได้มีการเปลี่ยนชื่อการแข่งขันเป็น ซีอีวีคัพ (CEV Cup) ซึ่งการแข่งขันซีอีวีคัพ เดิมได้เปลี่ยนชื่อเป็น ซีอีวีแชลเลนจ์คัพ (CEV Challenge Cup)

ชื่อก่อนหน้า[แก้]

  • 1972-2000 – ซีอีวีคัพวินเนอส์คัพ (CEV Cup Winners' Cup)
  • 2000-2007 – ซีอีวีท็อปทีมคัพ (CEV Top Teams Cup)
  • ตั้งแต่ 2007 – ซีอีวีคัพ (CEV Cup)

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

ซีอีวีคัพวินเนอส์คัพ[แก้]

ปี รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1972/1973 สหภาพโซเวียต ซเวซดา โวโรชีลอฟกราด พบกันหมด ฮังการี แชแปล เอสซี บัลแกเรีย เลฟสกี สปาร์ตัก โซเฟีย พบกันหมด อิตาลี รุยนีฟีเรนเซ
1973/1974 สหภาพโซเวียต อีเลคทรอนิคนีคา รีกา พบกันหมด สหภาพโซเวียต ซเวซดา โวโรชีลอฟกราด โปแลนด์ แรซอเวียแชชุฟ พบกันหมด อิตาลี ลูบีอัมโบโลญญา
1974/1975 สหภาพโซเวียต อีเลคทรอนิคนีคา รีกา พบกันหมด บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย เชโกสโลวาเกีย แอโร โอโดเลนา โวดา พบกันหมด ฮังการี อูยแป็ชต์โดฌา
1975/1976 บัลแกเรีย เซสกาโซเฟีย พบกันหมด เชโกสโลวาเกีย เชรเวนา ฮเวซดา บราติสลาวา อิตาลี กลิปปัน โตรีโน พบกันหมด เนเธอร์แลนด์ เบาว์ลุสต์โอราวี
1976/1977 สหภาพโซเวียต อีเลคทรอนิคนีคา รีกา พบกันหมด โรมาเนีย สเตอัวบูกูเรชต์ เชโกสโลวาเกีย แอโร โอโดเลนา โวดา พบกันหมด ฮังการี ฮอนเวดบูดาแป็สต์
1977/1978 เชโกสโลวาเกีย แอโร โอโดเลนา โวดา พบกันหมด โปแลนด์ อาแซดเอส ออลชตึน อิตาลี เปาเลตตี กาตาเนีย พบกันหมด ตุรกี เอจซาซีบาซี อิสตันบูล
1978/1979 โรมาเนีย ดีนาโมบูกูเรชต์ พบกันหมด บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย เชโกสโลวาเกีย รูดา ฮเวซดา ปราก พบกันหมด เนเธอร์แลนด์ เคเมนเซอร์วิช/ฟเวฟเวเซ วึกต์
1979/1980 อิตาลี ปานีนีโมเดนา พบกันหมด กรีซ ปานาทีไนกอส เชโกสโลวาเกีย แอโร โอโดเลนา โวดา พบกันหมด ตุรกี วีนีเล็กซ์ อิสตันบูล
1980/1981 เชโกสโลวาเกีย เชรเวนา ฮเวซดา บราติสลาวา พบกันหมด โรมาเนีย สเตอัวบูกูเรชต์ สหภาพโซเวียต อัฟโตโมบีลิสต์ เลนินกราด พบกันหมด บัลแกเรีย เซสกาโซเฟีย
1981/1982 สหภาพโซเวียต อัฟโตโมบีลิสต์ เลนินกราด พบกันหมด บัลแกเรีย เลฟสกี สปาร์ตัก โซเฟีย โรมาเนีย สเตอัวบูกูเรชต์ พบกันหมด ฝรั่งเศส อาแอ็ส เกรอนอบล์
1982/1983 สหภาพโซเวียต อัฟโตโมบีลิสต์ เลนินกราด พบกันหมด อิตาลี กลิปปัน โตรีโน สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย วอยวอดีนา นอวีซาด พบกันหมด ตุรกี กือไน อินชาต อาดานา
1983/1984 อิตาลี โรเบดีกัปปาโตรีโน พบกันหมด สเปน ปอร์ตอลซันอามาร์ปัลมา ฝรั่งเศส อาเนียร์ พบกันหมด เนเธอร์แลนด์ บราเดอร์มาร์ตีนึส
1984/1985 สหภาพโซเวียต ดีนาโมมอสโก พบกันหมด บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย โรมาเนีย สเตอัวบูกูเรชต์ พบกันหมด เยอรมนีตะวันตก ฮัมบูร์เกอร์เอสเฟา
1985/1986 อิตาลี ปานีนีโมเดนา พบกันหมด โรมาเนีย สเตอัวบูกูเรชต์ บัลแกเรีย เซสกาโซเฟีย พบกันหมด สหภาพโซเวียต ดีนาโมมอสโก
1986/1987 อิตาลี ตาร์ตารีนี โบโลญญา พบกันหมด บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ออก บอสเนียซาราเยโว พบกันหมด โปแลนด์ แรซอเวียแชชุฟ
1987/1988 อิตาลี มาซีโกโนปาร์มา 3–0 อิตาลี ตาร์ตารีนี โบโลญญา บัลแกเรีย เลฟสกี สปาร์ตัก โซเฟีย 3–0 เชโกสโลวาเกีย รูดา ฮเวซดา ปราก
1988/1989 อิตาลี มาซีโกโนปาร์มา บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย กรีซ ปานาทีไนกอส บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย
1989/1990 อิตาลี มาซีโกโนปาร์มา 3–1 อิตาลี ซิสเลย์เตรวีโซ สหภาพโซเวียต ดีนาโมมอสโก 3–0 เยอรมนีตะวันตก ฮัมบูร์เกอร์เอสเฟา
1990/1991 อิตาลี ยูโรสไตล์ มอนตีกีอารี 3–1 สหภาพโซเวียต อัฟโตโมบีลิสต์ เลนินกราด ฝรั่งเศส อาแอ็ส เฟร์ฌูส 3–1 เบลเยียม กนัก รูเซอลาเรอ
1991/1992 อิตาลี ยูโรสไตล์ มอนตีกีอารี 3–2 อิตาลี เมดีโอลานุม มีลาโน เยอรมนี เมอร์แซร์ เอสเซ 3–0 เบลเยียม ฟเวเท เดชิมเปล ตอร์เฮาต์
1992/1993 อิตาลี เมดีโอลานุม มีลาโน 3–1 ฝรั่งเศส อาแอ็สกาน อิตาลี กาเบกา มอนตีกีอารี 3–0 กรีซ อาริสซาโลนีกี
1993/1994 อิตาลี ซิสเลย์ เตรวีโซ 3–2 อิตาลี เมดีโอลานุม มีลาโน ฝรั่งเศส อาแอ็สกาน 3–2 กรีซ เอซี โอเรียสเทียดา
1994/1995 อิตาลี เดย์โทนา โมเดนา 3–0 สเปน นูมันเซีย โซเรีย เบลเยียม กนัก รูเซอลาเรอ 3–0 กรีซ เอซี โอเรียสเทียดา
1995/1996 กรีซ โอลิมเปียกอส 3–2 เยอรมนี บาแยร์ วุพเพอร์ทัล เนเธอร์แลนด์ อัลกัมกาเปอลา 3–0 สเปน อูนีกาคา อัลเมริอา
1996/1997 อิตาลี อัลปีตูร์ ตราโก กูเนโอ 3–0 กรีซ โอลิมเปียกอส รัสเซีย เบโลกอร์เรีย เบลโกรอด 3–1 เยอรมนี เอสเซเซ เบอร์ลิน
1997/1998 อิตาลี อัลปีตูร์ ตราโก กูเนโอ 3–0 กรีซ โอลิมเปียกอส โปรตุเกส กัสเตโลดามาเอีย เฌเซ 3–1 สเปน กรันกานาเรีย
1998/1999 ฝรั่งเศส อาแอ็สกาน 3–2 อิตาลี อัลปีตูร์ ตราโก กูเนโอ รัสเซีย อีซุมรุด เยคาเตรินบุร์ก 3–1 ตุรกี อาร์เชลิกอิสตันบูล
1999/2000 ฝรั่งเศส ปารีสวอลเลย์ 3–1 อิตาลี ตีเอนเนตี อัลปีตูร์กูเนโอ กรีซ เออีเค เอเธนส์ 3–0 ตุรกี กาลาตาซารายอิสตันบูล

ซีอีวีท็อปทีมคัพ[แก้]

ปี รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2000/2001 โปรตุเกส เอซึเซ อืชปิญญู 3–2 รัสเซีย ยูอีเอ็ม-อีซุมรุด เยคาเตรินบุร์ก สเปน อูนีกาคา อัลเมริอา 3–1 ตุรกี เอร์เดมีสปอร์ เอเรยลี
2001/2002 เบลเยียม กนัก รูเซอลาเรอ 3–1 โปรตุเกส เอซึเซ อืชปิญญู โปแลนด์ กาลักเซียบังก์แชญสตอคอวา 3–1 ยูเครน โลโคโมทิฟ คาร์คิฟ
2002/2003 เนเธอร์แลนด์ ปิต โชเมิร์ส อาเพลโดร์น 3–1 ยูเครน โลโคโมทิฟ คาร์คิฟ เนเธอร์แลนด์ อ็อมนีเวิลด์ อัลเมเรอ 3–1 ยูเครน อาซอต เชอร์คาซี
2003/2004 ยูเครน โลโคโมทิฟ คาร์คิฟ 3–1 โรมาเนีย เดลตากอนส์ ตุลชา ออสเตรีย เทียร์ วัสแซร์ครัฟท์อินส์บรุค 3–2 โปรตุเกส กัสเตโลดามาเอีย เฌเซ
2004/2005 กรีซ โอลิมเปียกอส 3–0 เนเธอร์แลนด์ โอร์เทคเนสเซลอันเดรอตเทอร์ดาม เช็กเกีย ดุกลา กอลิน 3–2 เนเธอร์แลนด์ อ็อมนีเวิลด์ อัลเมเรอ
2005/2006 อิตาลี โกปราปีอาเซนซา 3–2 สเปน ปอร์ตอลซอนอามาร์ปัลมา กรีซ ปานาทีไนกอส เอเธนส์ 3–1 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร วอยวอดีนา นอวอลิน นอวีซาด
2006/2007 สโลวีเนีย ออโตคอมเมอร์สเบลด 3–2 อิตาลี ชีโมเนโมเดนา รัสเซีย อิสคราโอดินต์โซโว 3–1 มาซิโดเนียเหนือ ราบอตนีชกีแฟร์สเปดสโกเปีย

ซีอีวีคัพ[แก้]

ปี รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2007/2008 อิตาลี เอมเม โรมาวอลเลย์[2] 3–0 เบลเยียม โนลิโก มาไซก์ มอนเตเนโกร บุดวันสกา รีวีเยรา บุดวา 3–1 รัสเซีย ฟาเกลโนวีอูเรนกอย
2008/2009 รัสเซีย โลโคโมทีฟ-เบโลกอร์เรีย[3] 3–1 กรีซ ปานาทีไนกอส เอเธนส์ อิตาลี เบรบันกาลันนุตตีกูเนโอ 3–1 สเปน อูนีกาคา อัลเมริอา
2009/2010 อิตาลี เบรบันกาลันนุตตีกูเนโอ[4] 3–1 รัสเซีย อิสคราโอดินต์โซโว เบลเยียม โนลิโก มาไซก์ 3–1 อิตาลี กอปร์อัตลันตีเด ปีอาเชนซา
2010/2011 อิตาลี ซิสเลย์เตรวิโซ 2–3, 3–1 โปแลนด์ ซักซาแกนแจชึน-กอชแล โปแลนด์ อัสแซตซอแรซอเวียแชชุฟ
บัลแกเรีย เซสกาโซเฟีย
2011/2012 รัสเซีย ดีนาโมมอสโก 3–2, 3–2 โปแลนด์ อัสเซตซอแรซอเวียเชชูฟ สโลวีเนีย เอซีเอชวอลเลย์ลูบลิยานา
อิตาลี อักกวาปาราดีโซมอนซาบรีอันซา
2012/2013 ตุรกี ฮัลก์บังก์อังการา 3–1, 3–2 อิตาลี อันเดรโอลีลาตีนา ยูเครน โลโคโมทิฟ คาร์คิฟ
ตุรกี มาลีเยมิลลีปียันโกอังการา
2013/2014 ฝรั่งเศส ปารีสวอลเลย์ 0–3, 3–1
(GS 15–8)
รัสเซีย กูเบียร์เนียนีจนีนอฟโกรอด โรมาเนีย โตมิส กอนส์ตันกา
โปแลนด์ แปกีแยแอ สกราแบวคาตุฟ
2014/2015 รัสเซีย ดีนาโมมอสโก 3–1, 1–3
(GS 15–12)
อิตาลี เอเนร์จี ตีอี ดีอาเตก เตรนตีโน โปแลนด์ ซักซาแกนแจชึน-กอชแล
เบลเยียม ฟเวเซ ยูโฟนี อัสเซ-เลนิก
2015/2016 เยอรมนี เบอร์ลิน รีไซคลิง วอลลีย์ส 3–2, 3–0 รัสเซีย กัซปรอม-อูย์กรา เบลเยียม กนัก รูเซอลาเรอ
รัสเซีย ดีนาโมมอสโก
2016/2017 ฝรั่งเศส ตูร์เวเบ 0–3, 3–1
(GS 15–13)
อิตาลี ดีอาเตก เตรนตีโน ตุรกี เฟแนร์บาห์แช เอสเค อิสตันบูล
เยอรมนี ยูไนเต็ดวอลลีย์ส ไรน์-ไมน
2017/2018 รัสเซีย เบโลกอร์เรีย เบลโกรอด 3–0, 3–2 ตุรกี ซีรัต บันกาซือ อังการา อิตาลี กัลเซโดเนีย เวโรนา
โปแลนด์ อัสแซตซอแรซอเวียแชชุฟ
2018/2019 อิตาลี ดีอาเตก เตรนตีโน 3–0, 3–2 ตุรกี กาลาทาซาไร อิสตันบูล รัสเซีย คุซบัสส์เคเมโรโว
กรีซ โอลิมเบียโกส
2019/2020 ยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19
2020/2021 รัสเซีย ดีนาโมมอสโก 3–2, 3–1 รัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เบลเยียม กรีนยาร์ดมาไซก์
ฝรั่งเศส มงเปอลีเย กัสแต็ลโน อูว์แอ็ส
2021/2022 อิตาลี เวโรวอลเลย์มอนซา 3–0, 3–0 ฝรั่งเศส ตูร์เวเบ โปแลนด์ แปกีแยแอ สกราแบวคาตุฟ
รัสเซีย เซนิต-คาซาน
2022/2023 อิตาลี วัลซากรุปโมเดนา 0–3, 3–0
(GS 15–9)
เบลเยียม กนัก รูเซอลาเรอ อิตาลี บลูเอ็นเนอร์จี ไดโก วอลเลย์ ปีอาเซนซา
โปแลนด์ แปกีแยแอ สกราแบวคาตุฟ

ทีมชนะเลิศแบ่งตามสโมสร[แก้]

ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ
อิตาลี โมเดนาวอลเลย์
4
1
1980, 1986, 1995, 2023
รัสเซีย ดีนาโมมอสโก
4
1985, 2012, 2015, 2021
อิตาลี ปีเยมอนเตวอลเลย์
3
2
1997, 1998, 2010
สหภาพโซเวียต อีเลคทรอนิคนีคา รีกา
3
1974, 1975, 1977
อิตาลี ปัลลาโวโลปาร์มา
3
1988, 1989, 1990
กรีซ โอลิมเปียกอส
2
2
1996, 2005
สหภาพโซเวียต อัฟโตโมบีลิสต์ เลนินกราด
2
1
1982, 1983
อิตาลี วอลเลย์เตรวีโซ
2
1
1994, 2011
อิตาลี ปัลลาโวโลกาเบกา
2
1991, 1992
ฝรั่งเศส ปารีสวอลเลย์
2
2000, 2014
รัสเซีย เบโลกอร์เรีย เบลโกรอด
2
2009, 2018
อิตาลี กอนซากามีลาโน
1
2
1993
สหภาพโซเวียต ซเวซดา โวโรชีลอฟกราด
1
1
1973
เชโกสโลวาเกีย เวกาเป บราติสลาวา
1
1
1981
อิตาลี ชิอูเอซเซ โตรีโนปัลลาโวโล
1
1
1984
อิตาลี ซีเนลลาวอลเลย์
1
1
1987
ฝรั่งเศส อาแอ็สกาน
1
1
1999
โปรตุเกส เอซึเซ อืชปิญญู
1
1
2001
ยูเครน โลโคโมทิฟ คาร์คิฟ
1
1
2004
ฝรั่งเศส ตูร์เวเบ
1
1
2017
เบลเยียม กนัก รูเซอลาเรอ
1
1
2002
บัลแกเรีย เซสกาโซเฟีย
1
1976
เช็กเกีย รูดา ฮเวซดา ปราก
1
1978
โรมาเนีย ดีนาโมบูกูเรชต์
1
1979
เนเธอร์แลนด์ ปิต โชเมิร์ส อาเพลโดร์น
1
2003
อิตาลี วอลเลย์ปีอาเชนซา
1
2006
สโลวีเนีย เอซีเอชวอลเลย์เบลด
1
2007
อิตาลี เอมเม โรมาวอลเลย์
1
2008
ตุรกี ฮัลก์บังก์ อังการา
1
2013
เยอรมนี เบอร์ลิน รีไซเคิล วอลเลย์
1
2016
อิตาลี เวโรวอลเลย์มอนซา
1
2022

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-27. สืบค้นเมื่อ 2017-12-22.
  2. CEV. "ROMA Volley cruised to its first European title". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-22. สืบค้นเมื่อ 2010-04-04.
  3. CEV. "BELGOROD is back to the top, Panathinaikos defeated 3:1 at the OAKA Indoor Hall". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-22. สืบค้นเมื่อ 2010-04-04.
  4. CEV. "Bre Banca Lannutti CUNEO adds another trophy to the Italian tally". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-01. สืบค้นเมื่อ 2010-04-04.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]