วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเปรู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เปรู
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลเปรู
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้
หัวหน้าผู้ฝึกสอนบราซิล เมาโร มารัสคิวโล
อันดับเอฟไอวีบี38 (ณ 26 กันยายน 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน7 (ครั้งแรกเมื่อ 1968)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1988)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน12 (ครั้งแรกเมื่อ 1960)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1982)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน8 (ครั้งแรกเมื่อ 1973)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 4 (1973)
Voleibol.pe (สเปน)

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเปรู (สเปน: Selección femenina de voleibol del Perú) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศเปรู ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลเปรู และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ ทีมนี้เป็นหนึ่งในทีมระดับแถวหน้าของโลกในช่วงยุคทศวรรษที่ 1980 และเคยได้รับรางวัลเหรียญเงินจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้

ประวัติการแข่งขัน[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1964 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1968 – อันดับที่ 4
  • เยอรมนี 1972 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • แคนาดา 1976 เหรียญทอง
  • สหภาพโซเวียต 1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1984 – อันดับที่ 7
  • เกาหลีใต้ 1988 – อันดับที่ 6
  • สเปน 1992 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1996 – อันดับที่ 11
  • ออสเตรเลีย 2000 – อันดับที่ 11
  • กรีซ 2004 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2008 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหราชอาณาจักร 2012 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 2016ไม่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

  • สหภาพโซเวียต 1952 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฝรั่งเศส 1956 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • บราซิล 1960 : อันดับที่ 7
  • สหภาพโซเวียต 1962 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 1967 : อันดับที่ 4
  • บัลแกเรีย 1970 : อันดับที่ 15
  • เม็กซิโก 1974 : อันดับที่ 8
  • สหภาพโซเวียต 1978 : อันดับที่ 10
  • เปรู 1982 : เหรียญเงิน
  • เชโกสโลวาเกีย 1986 : เหรียญทองแดง
  • จีน 1990 : อันดับที่ 6
  • บราซิล 1994 : อันดับที่ 13
  • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับที่ 10
  • เยอรมนี 2002 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 17
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 15
  • อิตาลี 2014 : ไม่ผ่านการคัดเลือก

เวิลด์คัพ[แก้]

  • อุรุกวัย 1973 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1977 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1981 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1985 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1989 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1991 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1995 : อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 1999 : อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 2003 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2007 : อันดับที่ 11
  • ญี่ปุ่น 2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2015 : อำดับที่ 11

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]

  • ฮ่องกง 1993 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • จีน 1994 : อันดับที่ 11
  • จีน 1995 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • จีน 1996 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 1997 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฮ่องกง 1998 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • จีน 1999 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • มาเก๊า 2001 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฮ่องกง 2002 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • อิตาลี 2003 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • อิตาลี 2004 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2005 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2006 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2007 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 16
  • จีน 2012 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 18
  • สหรัฐ 2015 : อันดับที่ 22
  • ไทย 2016 : อันดับที่ 23

แพนอเมริกันคัพ[แก้]

  • เม็กซิโก 2002 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • เม็กซิโก 2003 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • เม็กซิโก 2004 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2005 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ปวยร์โตรีโก 2006 : อันดับที่ 6
  • เม็กซิโก 2007 : อันดับที่ 7
  • เม็กซิโก 2008 : อันดับที่ 7
  • สหรัฐ 2009 : อันดับที่ 5
  • เม็กซิโก 2010 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 2011 : อันดับที่ 8
  • เม็กซิโก 2012 : อันดับที่ 7
  • เปรู 2013 : อันดับที่ 8
  • เม็กซิโก 2014 : อันดับที่ 9
  • เปรู 2015 : อันดับที่ 9

วอลเลย์บอลชิงแชมป์อเมริกาใต้[แก้]

  • บราซิล 1951 : เหรียญทองแดง
  • อุรุกวัย 1956 : เหรียญทองแดง
  • บราซิล 1958 : เหรียญเงิน
  • เปรู 1961 : เหรียญเงิน
  • ชิลี 1962 : เหรียญเงิน
  • อาร์เจนตินา 1964 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1967 : เหรียญทอง
  • เวเนซุเอลา 1969 : เหรียญเงิน
  • อุรุกวัย 1971 : เหรียญทอง
  • โคลอมเบีย 1973 : เหรียญทอง
  • ปารากวัย 1975 : เหรียญทอง
  • เปรู 1977 : เหรียญทอง
  • อาร์เจนตินา 1979 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1981 : เหรียญเงิน
  • บราซิล 1983 : เหรียญทอง
  • เวเนซุเอลา 1985 : เหรียญทอง
  • อุรุกวัย 1987 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1989 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1991 : เหรียญเงิน
  • เปรู 1993 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1995 : เหรียญเงิน
  • เปรู 1997 : เหรียญเงิน
  • เวเนซุเอลา 1999 : เหรียญทองแดง
  • อาร์เจนตินา 2001 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • โคลอมเบีย 2003 : เหรียญทองแดง
  • โบลิเวีย 2005 : เหรียญเงิน
  • ชิลี 2007 : เหรียญเงิน
  • บราซิล 2009 : เหรียญทองแดง
  • เปรู 2011 : เหรียญทองแดง
  • เปรู 2013 : เหรียญทองแดง
  • โคลอมเบีย 2015 : เหรียญเงิน

ชาเลนเจอร์ คัพ

• 2018 — อันดับ 4

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]