วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบราซิล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บราซิล
สมาคมเซเบเว
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้
หัวหน้าผู้ฝึกสอนโจเซ โรแบร์โต กิมาเรส[1]
อันดับเอฟไอวีบี3 (ณ 26 กันยายน 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชุดที่ 3
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน10 (ครั้งแรกเมื่อ 1980)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด ชนะเลิศ : (2008, 2012)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน15 (ครั้งแรกเมื่อ 1956)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด รองชนะเลิศ : (1994, 2006, 2010)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน10 (ครั้งแรกเมื่อ 1973)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด รองชนะเลิศ : (1995, 2003, 2007)
www.volei.org.br (โปรตุเกส)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบราซิล
เหรียญรางวัล
โอลิมปิกฤดูร้อน
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ปักกิ่ง 2008 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ลอนดอน 2012 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โตเกียว 2020 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 แอตแลนตา 1996 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ซิดนีย์ 2000 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บราซิล 1994 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2006 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2010 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 อิตาลี 2014 ทีม
เวิลด์คัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1995 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2003 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2007 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 1999 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ นะโงะยะ/โตเกียว 2005 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ นะโงะยะ/โตเกียว 2013 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฟุกุโอะกะ/โตเกียว 2009 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ นะโงะยะ/โตเกียว 2017 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โอซะกะ/ฮิโรชิมะ/โตเกียว 1997 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เซี่ยงไฮ้ 1994 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เซี่ยงไฮ้ 1996 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฮ่องกง 1998 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ราจิโอ คาลาเบียร์ 2004 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เซนได 2005 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ราจิโอ คาลาเบียร์ 2006 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โยโกฮะมะ 2008 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โตเกียว 2009 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ซัปโปะโระ 2013 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โตเกียว 2014 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กรุงเทพมหานคร 2016 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ หนานจิง 2017 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โอมาฮา 2015 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เซี่ยงไฮ้ 1995 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ยู่ฉี่ 1999 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ หนิงโป 2010 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ มาเก๊า 2011 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ หนิงโป 2012 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เกซอน ซิตี้ 2000 ทีม
เนชันส์ลีก
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2019 หนานจิง ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2021 รีมีนี ทีม
แพน-อเมริกันเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ชิคาโก 1959 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เซา เปาโล 1963 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ วินนิปริงส์ 1999 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เปอร์โต วาเลอตา 2011 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฮาวานา 1991 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ กินาซิโอ 2007 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เม็กซิโก ซิตี้ 1955 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 คากรอส 1979 ทีม
แพน-อเมริกันคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ซานจวน 2006 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ไมอามี่ 2009 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ซิฮัวฮัว 2011 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โคลิมา 2007 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เม็กซิกาลิ 2008 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ซิฮัวฮัว 2012 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ซันโตโดมิงโก 2005 ทีม
ไฟนอล โฟร์ คัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฟอตาเลซา 2008 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ลิมา 2009 ทีม
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บราซิล 1951 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อุรุกวัย 1956 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บราซิล 1958 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เปรู 1961 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ชิลี 1962 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เวเนซูเอลา 1969 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บราซิล 1981 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บราซิล 1991 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บราซิล 1995 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ลิมา 1997 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ คาราโบโบ 1999 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บัวโนส ไอเรส 2001 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โบโกตา 2003 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ลาปาส 2005 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ซานเตียโก 2007 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ปอร์เตอร์ เอเกอร์ 2009 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ คาลโล 2011 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ไอคา 2013 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ การ์ตาเฮนา 2015 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กาลิ 2017 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กาฮามาร์กา 2019 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บาร์รันกาแบร์เมฮา 2021 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บราซิล 1967 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อุรุกวัย 1971 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โคลอมเบีย 1973 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ปารากวัย 1975 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เปรู 1977 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อาร์เจนตินา 1979 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บราซิล 1983 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เวเนซูเอลา 1985 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อุรุกวัย 1987 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บราซิล 1989 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ คัสโซ 1993 ทีม
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบราซิลในโอลิมปิก 2020

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบราซิล (โปรตุเกส: Seleção Brasileira de Voleibol Feminino) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศบราซิล ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลบราซิล (เซเบเว) และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ เมื่อการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 สิ้นสุดลง ทีมนี้ได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับสองของโลกโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ[2] ทีมนี้ยังเป็นแชมป์ล่าสุดของรายการวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ (โดยครองแชมป์เป็นสมัยที่เก้าในปี ค.ศ. 2013) รวมถึงได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่กรุงปักกิ่ง และโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ที่กรุงลอนดอน[3] ใน ค.ศ. 2013 ทีมชาติบราซิลได้เข้าแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ 2013 ในฐานะแชมป์จากรายการวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้[4]

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน[แก้]

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง น้ำหนัก จุดตบ จุดบล็อก สโมสร 2021-2022 ตำแหน่ง
2. คาโรล กัททัซ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1981 192 78 315 299 บราซิล อิตัมเบ/มินาส บอลเร็ว
3. นาตาเลีย อาราโฮ 10 เมษายน ค.ศ. 1997 165 72 228 215 บราซิล เซส ฟลาเมงโก ตัวรับอิสระ
6. นาเอมี คอสตา 11 ตุลาคม ค.ศ. 1998 175 79 297 280 บราซิล เซซิ วอลเลย์ เบารู ตัวรับอิสระ
7. โรซามาเรีย มงชีเบลเลร์ 9 เมษายน ค.ศ. 1994 185 76 291 285 อิตาลี อีกอร์ กอร์กอนโซลา โนวารา บีหลัง
8. มาคริส คาร์เนโร 3 มีนาคม ค.ศ. 1989 178 68 292 275 บราซิล อิตัมเบ/มินาส ตัวเซ็ต
9. โรเบอร์ตา ราซเก 28 เมษายน ค.ศ. 1990 185 71 287 278 โปแลนด์ แอลกาเอส คอมแมร์แซคอน วุดช์ ตัวเซ็ต
10. กาเบรียลา กิมาเรส

19 พฤษภาคม ค.ศ. 1994 180 65 305 289 ตุรกี วากิฟแบงค์ อิสตันบูล ตัวตบหัวเสา
11. ลอเรนเน เทเซย์รา 8 มกราคม ค.ศ. 1996 187 72 306 289 ญี่ปุ่น อาเงโอะเมดิกส์ บีหลัง
12. นาตาเลีย เปเรย์รา 4 เมษายน ค.ศ. 1989 186 83 311 295 อิตาลี ซาวีโน เดล เบเน สแกนดิชชี ตัวตบหัวเสา
15. อนา คาโรลินา ดา ซิลวา 8 เมษายน ค.ศ. 1991 183 73 290 290 บราซิล เดนทิล/ไปรอา คลับ บอลเร็ว
16. อนา คริสตินา โซซา 7 เมษายน ค.ศ. 2004 192 79 309 296 ตุรกี เฟแนร์บาห์แช อิสตันบูล ตัวตบหัวเสา
17. คาเซียลี เคลเมนเต 6 ธันวาคม ค.ศ. 1993 182 62 294 281 บราซิล เดนทิล/ไปรอา คลับ ตัวตบหัวเสา
18. มายานี โซซา 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 185 62 293 282 บราซิล เซซิ วอลเลย์ เบารู บอลเร็ว
20. อนา เบียทริซ กอร์เรอา 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 187 70 298 292 อิตาลี ซาวีโน เดล เบเน สแกนดิชชี บอลเร็ว

รางวัล[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

สถิติการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้
ญี่ปุ่น 1964 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เม็กซิโก 1968
เยอรมนี 1972
แคนาดา 1976
สหภาพโซเวียต 1980 รอบก่อนรองชนะเลิศ 7 5 1 4
สหรัฐ 1984 รอบก่อนรองชนะเลิศ 7 5 1 4
เกาหลีใต้ 1988 รอบก่อนรองชนะเลิศ 6 5 1 4
สเปน 1992 รอบรองชนะเลิศ 4 6 3 3
สหรัฐ 1996 รอบรองชนะเลิศ 3 8 7 1
ออสเตรเลีย 2000 รอบรองชนะเลิศ 3 8 7 1
กรีซ 2004 รอบรองชนะเลิศ 4 8 6 2
จีน 2008 รอบชิงชนะเลิศ 1 8 8 0
สหราชอาณาจักร 2012 รอบชิงชนะเลิศ 1 8 6 2
บราซิล 2016 รอบก่อนรองชนะเลิศ 5 6 5 1
ญี่ปุ่น 2020 รอบชิงชนะเลิศ 2 8 7 1
รวม 2 สมัย 11/15 75 52 23

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

สถิติการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
ปี อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้
สหภาพโซเวียต 1952 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ฝรั่งเศส 1956 11 8 6 2
บราซิล 1960 5 6 2 4
สหภาพโซเวียต 1962 8 8 1 7
ญี่ปุ่น 1967 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บัลแกเรีย 1970 13 9 4 5
เม็กซิโก 1974 15 11 7 4
สหภาพโซเวียต 1978 7 9 5 4
เปรู 1982 8 9 4 5
เชโกสโลวาเกีย 1986 5 8 5 3
จีน 1990 7 7 4 3
บราซิล 1994 2 7 6 1
ญี่ปุ่น 1998 4 8 5 3
เยอรมนี 2002 7 11 7 4
ญี่ปุ่น 2006 2 11 10 1
ญี่ปุ่น 2010 2 11 10 1
อิตาลี 2014 3 13 12 1
ญี่ปุ่น 2018 7 9 7 2
รวม 16/18 144 95 50

วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ[แก้]

สถิติการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์คัพ
ปี อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้
อุรุกวัย 1973 9 5 1 4
ญี่ปุ่น 1977 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1981 8 7 0 7
ญี่ปุ่น 1985 6 7 2 5
ญี่ปุ่น 1989 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1991 8 5 2 3
ญี่ปุ่น 1995 2 11 10 1
ญี่ปุ่น 1999 3 11 9 2
ญี่ปุ่น 2003 2 11 10 1
ญี่ปุ่น 2007 2 11 9 2
ญี่ปุ่น 2011 5 11 8 3
ญี่ปุ่น 2015 ไม่ต้องเข้าแข่งขันเนื่องจากเป็นเจ้าภาพโอลิมปิก
ญี่ปุ่น 2019 4 11 7 4
สรุป 11/13 90 58 32

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมเปียนคัพ[แก้]

สถิติการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมเปียนคัพ
ปี ตำแหน่ง แข่ง ชนะ แพ้
ญี่ปุ่น 1993 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1997 3 5 3 2
ญี่ปุ่น 2001 4 5 2 3
ญี่ปุ่น 2005 1 5 5 0
ญี่ปุ่น 2009 2 5 4 1
ญี่ปุ่น 2013 1 5 5 0
ญี่ปุ่น 2017 2 5 3 2
รวม 6/7 30 22 8

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]

ปี อันดับที่
ฮ่องกง 1993 4
จีน 1994 1
จีน 1995 2
จีน 1996 1
ญี่ปุ่น 1997 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ฮ่องกง 1998 1
จีน 1999 2
ฟิลิปปินส์ 2000 3
มาเก๊า 2001 5
ฮ่องกง 2002 4
อิตาลี 2003 8
อิตาลี 2004 1
ญี่ปุ่น 2005 1
ปี อันดับที่
อิตาลี 2006 1
จีน 2007 5
ญี่ปุ่น 2008 1
ญี่ปุ่น 2009 1
จีน 2010 2
มาเก๊า 2011 2
จีน 2012 2
ญี่ปุ่น 2013 1
ญี่ปุ่น 2014 1
สหรัฐ 2015 3
ไทย 2016 1
จีน 2017 1
รวม 24/25

เนชันส์ลีก[แก้]

ปี อันดับที่
จีน 2018 อันดับที่ 4
จีน 2019 2
อิตาลี 2021 2
ตุรกี 2022 2
รวม 4/4

แพนอเมริกันเกมส์[แก้]

ปี อันดับที่
เม็กซิโก 1955 เหรียญทองแดง
สหรัฐ 1959 เหรียญทอง
บราซิล 1963 เหรียญทอง
แคนาดา 1967 อันดับที่ 4
โคลอมเบีย 1971 อันดับที่ 4
เม็กซิโก 1975 อันดับที่ 5
ปวยร์โตรีโก 1979 เหรียญทองแดง
เวเนซุเอลา 1983 อันดับที่ 4
สหรัฐ 1987 อันดับที่ 4
คิวบา 1991 เหรียญเงิน
อาร์เจนตินา 1995 อันดับที่ 6
แคนาดา 1999 เหรียญทอง
สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 อันดับที่ 4
บราซิล 2007 เหรียญเงิน
เม็กซิโก 2011 เหรียญทอง
แคนาดา 2015 เหรียญเงิน
รวม 15/15

แพน-อเมริกันคัพ[แก้]

ปี อันดับที่
เม็กซิโก 2002 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เม็กซิโก 2003 อันดับที่ 4
เม็กซิโก 2004 อันดับที่ 4
สาธารณรัฐโดมินิกัน 2005 เหรียญทองแดง
ปวยร์โตรีโก 2006 เหรียญทอง
เม็กซิโก 2007 เหรียญเงิน
เม็กซิโก 2008 เหรียญเงิน
สหรัฐ 2009 เหรียญทอง
เม็กซิโก 2010 อันดับที่ 8
เม็กซิโก 2011 เหรียญทอง
ปี อันดับที่
เม็กซิโก 2012 เหรียญเงิน
เปรู 2013 อันดับที่ 4
เม็กซิโก 2014 ถอนตัวออก
เปรู 2015 อันดับที่ 7
รวม 12/14

ไฟนอลโฟร์คัพ[แก้]

ปี อันดับที่
บราซิล 2008 เหรียญทอง
เปรู 2009 เหรียญทอง
เม็กซิโก 2010 ไม่ผ่านการคัดเลือก
สรุป 2/3

วอลเลย์บอลชิงแชมป์อเมริกาใต้[แก้]

ปี อันดับที่
บราซิล 1951 เหรียญทอง
อุรุกวัย 1956 เหรียญทอง
บราซิล 1958 เหรียญทอง
เปรู 1961 เหรียญทอง
ชิลี 1962 เหรียญทอง
อาร์เจนตินา 1964 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บราซิล 1967 เหรียญเงิน
เวเนซุเอลา 1969 เหรียญทอง
อุรุกวัย 1971 เหรียญเงิน
โคลอมเบีย 1973 เหรียญเงิน
ปารากวัย 1975 เหรียญเงิน
เปรู 1977 เหรียญเงิน
อาร์เจนตินา 1979 เหรียญเงิน
บราซิล 1981 เหรียญทอง
บราซิล 1983 เหรียญเงิน
เวเนซุเอลา 1985 เหรียญเงิน
ปี อันดับที่
อุรุกวัย 1987 เหรียญเงิน
บราซิล 1989 เหรียญเงิน
บราซิล 1991 เหรียญทอง
เปรู 1993 เหรียญเงิน
บราซิล 1995 เหรียญทอง
เปรู 1997 เหรียญทอง
เวเนซุเอลา 1999 เหรียญทอง
อาร์เจนตินา 2001 เหรียญทอง
โคลอมเบีย 2003 เหรียญทอง
โบลิเวีย 2005 เหรียญทอง
ชิลี 2007 เหรียญทอง
บราซิล 2009 เหรียญทอง
เปรู 2011 เหรียญทอง
เปรู 2013 เหรียญทอง
โคลอมเบีย 2015 เหรียญทอง
สรุป 30/31

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]