ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์ปีก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''สัตว์ปีก''' หรือ '''นก''' (รวมถึง [[ไก่]], [[เป็ด]], [[ห่าน|หีหมา]], [[วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา|ไก่ฟ้า]]) จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น '''''Aves''''' (คำว่า ''Aves'' เป็น[[ภาษาละติน]] หมายถึง นก) โดยมีลักษณะทั่วไปคือ เป็นสัตว์[[ทวิบาท]] [[สัตว์เลือดอุ่น|เลือดอุ่น]] [[สัตว์ออกลูกเป็นไข่|ออกลูกเป็นไข่]] [[รยางค์คู่หน้า]]เปลี่ยนแปลงไปเป็น[[ปีก]] มี[[ขนนก]] และมี[[กระดูก]]ที่กลวงเบา
{{taxobox
| name = นก
| fossil_range = <br />{{fossilrange|121|0|[[ยุคครีเทเชียส]]ตอนต้น ([[ช่วงอายุแอปเชียน]]) – [[สมัยโฮโลซีน|ปัจจุบัน]],<ref name=divergence/> 121–0 [[Year#SI prefix multipliers|Ma]]| | earliest=160.8}}
| image = <imagemap>
File:Bird Diversity 2013.png|300px
rect 0 0 333 232 [[Red-crested turaco]]
rect 0 232 333 470 [[นกอินทรีทะเลชเต็ลเลอร์]]
rect 0 696 333 470 [[นกพิราบ]]
rect 0 928 333 700 [[นกแคสโซแวรีใต้]]
rect 0 1160 333 930 [[เพนกวินเจนทู]]
rect 0 1392 333 1160 [[นกศิวะหางสีตาล]]

rect 666 0 333 232 [[นกกระสาปากพลั่ว]]
rect 666 232 333 470 [[นกกระเรียนมงกุฎเทา]]
rect 666 696 333 470 [[Anna's hummingbird]]
rect 666 928 333 700 [[rainbow lorikeet]]
rect 666 1160 333 930 [[นกกระสานวล]]
rect 666 1392 333 1160 [[นกเค้าอินทรียูเรเซีย]]

rect 999 0 666 232 [[นกร่อนทะเลหางขาว]]
rect 999 232 666 470 [[นกยูงอินเดีย]]
rect 999 696 666 470 [[นกพัฟฟินแอตแลนติก]]
rect 999 928 666 700 [[American flamingo]]
rect 999 1160 666 930 [[นกบูบีตีนฟ้า]]
rect 999 1392 666 1160 [[keel-billed toucan]]
</imagemap>
| regnum = [[Animalia]]
| phylum = [[Chordata]]
| classis = '''Aves'''
| display_parents = 3
| taxon = Aves
| classis_authority = [[Carl Linnaeus|Linnaeus]], [[10th edition of Systema Naturae|1758]]<ref>{{cite web| url= http://taxonomicon.taxonomy.nl/TaxonTree.aspx?id=80129&tree=0.1| title=Systema Naturae 2000 / Classification, Class Aves | access-date=11 June 2012 | last=Brands | first=Sheila | date=14 August 2008 | work=Project: The Taxonomicon }}</ref>
| subdivision_ranks = Extant [[Order (biology)|orders]] and temporal range
| subdivision = {{show
|1=See orders
|2=&#32;
* Infraclass [[Palaeognathae]]
** Superorder Struthionimorphae
*** [[Struthioniformes]] (Ostrichs) – 58?–0 Mya, [[สมัยพาลีโอซีน]]ตอนปลาย?–[[สมัยโฮโลซีน|ปัจจุบัน]]
** Superorder [[Notopalaeognathae]]
*** [[Rheiformes]] (Rheas) – 56–0 Mya, [[สมัยพาลีโอซีน]]ตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Tinamiformes]] (Tinamous) – 10–0 Mya, [[สมัยไมโอซีน]]ตอนกลาง–ปัจจุบัน
*** [[Casuariiformes]] (Casowaries and Emus) – 58.7–0 Mya, [[สมัยพาลีโอซีน]]ตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Apterygiformes]] (Kiwis) – 23.03–0 Mya, [[สมัยไมโอซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
* Infraclass [[Neognathae]]
** Superorder [[Galloanserae]]
*** [[Galliformes]] (Gamebirds) – 45–0 Mya, [[สมัยอีโอซีน]]ตอนกลาง–ปัจจุบัน
*** [[Anseriformes]] (Waterfowl) – 71–0 Mya, [[ยุคครีเทเชียส]]ตอนปลาย ([[ช่วงอายุมาสตริกเทียน]])–ปัจจุบัน
** Superorder [[Neoaves]]
*** [[Phoenicopteriformes]] (Flamingos) – 50–0 Mya, [[สมัยอีโอซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Podicipediformes]] (Grebes) – 25–0 Mya, [[สมัยโอลิโกซีน]]ตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Columbiformes]] (Pigeons and doves) – 23.03–0 Mya, [[สมัยไมโอซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Mesitornithiformes]] (Mesites) – ไม่มีบันทึกซากดึกดำบรรพ์
*** [[Pterocliformes]] (Sandgrouse) – 33.9–0 Mya, [[สมัยโอลิโกซีน]]ตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Apodiformes]] (swifts, treeswifts and hummingbirds) – 52–0 Mya, [[สมัยอีโอซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Caprimulgiformes]] (Nightjars, nighthawks, potoos, oilbirds, frogmouths and owlet-nightjars) – 59.2–0 Mya, [[สมัยพาลีโอซีน]]ตอนกลาง–ปัจจุบัน
*** [[Cuculiformes]] (Cuckoos, anis, etc) – 34–0 Mya, [[สมัยไมโอซีน]]ตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Otidiformes]] (Bustards, floricans, etc) – 13–0 Mya, [[สมัยไมโอซีน]]ตอนกลาง–ปัจจุบัน
*** [[Musophagiformes]] (Turacos and go-away-birds) – 24–0 Mya, [[สมัยโอลิโกซีน]]ตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Opisthocomiformes]] (Hoatzin) – 33.9–0 Mya,[[สมัยอีโอซีน]]ตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Gruiformes]] (Cranes, crakes, rails, wood-rails, flufftails, gallinules, limpkins, trumpeters, finfoots and sungrebes) – 66–0 Mya, [[ยุคครีเทเชียส]]ตอนปลาย ([[ช่วงอายุมาสตริกเทียน]])–ปัจจุบัน
*** [[Charadriiformes]] (Plovers, crab plovers, lapwings, seagulls, puffins, auks, sandipipers, buttonquails, stilts, avocets, ibisbills, woodcocks, skuas, etc) – 75–0 Mya, [[ยุคครีเทเชียส]]ตอนปลาย ([[ช่วงอายุคัมพาเนียน]])–ปัจจุบัน
*** [[Gaviiformes]] (Loons) – 70–0 Mya, ยุคครีเทเชียสตอนปลาย (ช่วงอายุมาสตริกเทียน)–ปัจจุบัน
*** [[Procellariiformes]] (petrels, storm petrels, albatrosses and diving petrels) – 33.9–0 Mya, [[สมัยโอลิโกซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Sphenisciformes]] (penguins) – 62–0 Mya, [[สมัยพาลีโอซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Ciconiiformes]] (storks, openbills and jabirus) – 30–0 Mya, [[สมัยโอลิโกซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Suliformes]] (boobies, gannets, frigatebirds, cormorants, shags and anhingas) – 90–0 Mya, [[ยุคครีเทเชียส]]ตอนปลาย ([[ช่วงอายุทูโรเนียน]])–ปัจจุบัน
*** [[Pelecaniformes]] (pelicans, ibises, shoebills, egrets, herons, etc) – 66–0 Mya, [[ยุคครีเทเชียส]]ตอนปลาย ([[ช่วงอายุมาสตริกเทียน]])–ปัจจุบัน
*** [[Eurypygiformes]] (sunbitterns and kagu) – 56–0 Mya, [[สมัยพาลีโอซีน]]ตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Phaethontiformes]] (tropicbirds) – 58.7–0 Mya, สมัยพาลีโอซีนตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Cathartiformes]] (New World vultures) – 41–0 Mya, [[สมัยอีโอซีน]]ตอนกลาง–ปัจจุบัน
*** [[Accipitriformes]] (eagles, Old World vultures, secretary-birds, hawks, harriers, etc) – 47–0 Mya, สมัยอีโอซีนตอนปลาย–ปัจจุบัน
*** [[Strigiformes]] (owls) – 30–0 Mya, [[สมัยโอลิโกซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Coliiformes]] (mousebirds) – ~65–0 Mya, [[สมัยพาลีโอซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Leptosomiformes]] (cuckoorollers) – ไม่มีบันทึกซากดึกดำบรรพ์
*** [[Trogoniformes]] (trogons and quetzals) – 49–0 Mya, [[สมัยอีโอซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Bucerotiformes]] (hornbills, hoopoes and wood-hoopoes) – ~40–0 Mya, สมัยอีโอซีนตอนกลาง–ปัจจุบัน
*** [[Coraciiformes]] (rollers, bee eaters, todys, kingfishers, etc) – 41.2–0 Mya, สมัยอีโอซีนตอนกลาง–ปัจจุบัน
*** [[Piciformes]] (woodpeckers, flickers, toucans, aracaris, motmots, etc) – 56–0 Mya, สมัยอีโอซีนตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Cariamiformes]] (seriema) – 66–0 Mya, [[ยุคครีเทเชียส]]ตอนปลาย ([[ช่วงอายุมาสตริกเทียน]])–ปัจจุบัน
*** [[Falconiformes]] (falcons and caracaras) – 50–0 Mya, [[สมัยอีโอซีน]]ตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Psittaciformes]] (parrots and cockatoos) – 50–0 Mya, สมัยอีโอซีนตอนต้น–ปัจจุบัน
*** [[Passeriformes]] (passerines) – 52.5–0 Mya, สมัยอีโอซีนตอนต้น–ปัจจุบัน

}}
| synonyms = * Neornithes <small>Gadow, 1883</small>
}}
'''สัตว์ปีก''' หรือ '''นก''' (รวมถึง [[ไก่]], [[เป็ด]], [[ห่าน]], [[วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา|ไก่ฟ้า]]) จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น '''''Aves''''' (คำว่า ''Aves'' เป็น[[ภาษาละติน]] หมายถึง นก) โดยมีลักษณะทั่วไปคือ เป็นสัตว์[[ทวิบาท]] [[สัตว์เลือดอุ่น|เลือดอุ่น]] [[สัตว์ออกลูกเป็นไข่|ออกลูกเป็นไข่]] [[รยางค์คู่หน้า]]เปลี่ยนแปลงไปเป็น[[ปีก]] มี[[ขนนก]] และมี[[กระดูก]]ที่กลวงเบา


ในปัจจุบันทั่วโลกมีนกอยู่ประมาณ 8,800 ถึง 9,800 [[ชนิด (ชีววิทยา)|ชนิด]] (ตามการจัด[[อนุกรมวิธาน]]ที่ต่างกัน) ซึ่งนับว่านกเป็นชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มี[[ความหลากหลายทางชีวภาพ|ความหลากหลาย]]มากที่สุด ในบรรดาชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหลายที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน ความหลากหลายของนกนับเนื่องไปตั้งแต่ในเรื่องของขนาดตัว สีสัน เสียงร้อง อาหารการกิน และถิ่นที่อยู่อาศัย
ในปัจจุบันทั่วโลกมีนกอยู่ประมาณ 8,800 ถึง 9,800 [[ชนิด (ชีววิทยา)|ชนิด]] (ตามการจัด[[อนุกรมวิธาน]]ที่ต่างกัน) ซึ่งนับว่านกเป็นชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มี[[ความหลากหลายทางชีวภาพ|ความหลากหลาย]]มากที่สุด ในบรรดาชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหลายที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน ความหลากหลายของนกนับเนื่องไปตั้งแต่ในเรื่องของขนาดตัว สีสัน เสียงร้อง อาหารการกิน และถิ่นที่อยู่อาศัย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:13, 1 กุมภาพันธ์ 2564

สัตว์ปีก หรือ นก (รวมถึง ไก่, เป็ด, หีหมา, ไก่ฟ้า) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้น Aves (คำว่า Aves เป็นภาษาละติน หมายถึง นก) โดยมีลักษณะทั่วไปคือ เป็นสัตว์ทวิบาท เลือดอุ่น ออกลูกเป็นไข่ รยางค์คู่หน้าเปลี่ยนแปลงไปเป็นปีก มีขนนก และมีกระดูกที่กลวงเบา

ในปัจจุบันทั่วโลกมีนกอยู่ประมาณ 8,800 ถึง 9,800 ชนิด (ตามการจัดอนุกรมวิธานที่ต่างกัน) ซึ่งนับว่านกเป็นชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีความหลากหลายมากที่สุด ในบรรดาชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหลายที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน ความหลากหลายของนกนับเนื่องไปตั้งแต่ในเรื่องของขนาดตัว สีสัน เสียงร้อง อาหารการกิน และถิ่นที่อยู่อาศัย

นกเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญเป็นอันมากทั้งต่อระบบนิเวศและต่อชีวิตมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับนกเป็นไปอย่างแน่นแฟ้น และการเกื้อกูลกันระหว่างนกกับสรรพสิ่งต่าง ๆ ตามธรรมชาติก็เป็นไปอย่างแนบแน่น ถ้าหากปราศจากนก คงเป็นเรื่องยากที่จะจินตนาการถึงการดำรงอยู่ต่อไปของชีวภาคใบนี้

วิวัฒนาการ

ซากดึกดำบรรพ์อาร์คีออพเทอริกซ์

นกมีความคล้ายคลึงกับไอฟิสสัตว์เลื้อยคลานหลายประการ เช่น โครงสร้างของกระดูกและกล้ามเนื้อ เกล็ดที่ขา การออกลูกเป็นไข่ และการเจริญเติบโตของตัวอ่อน จึงเชื่อกันว่านกในปัจจุบันถือกำเนิดมาจากสัตว์เลื้อยคลาน

ยิ่งไปกว่านั้น มีหลักฐานซากดึกดำบรรพ์จำนวนมากยืนยันว่านกมีวิวัฒนาการมาจากไดโนเสาร์เทอโรพอด ตัวอย่างเช่น ซากดึกดำบรรพ์อาร์คีออปเทอริกซ์ที่ค้นพบในแคว้นบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เมื่อปี ค.ศ. 1861 ซากดึกดำบรรพ์นี้มีอายุประมาณ 150 ล้านปี บ่งบอกว่าอาร์คีออพเทอริกซ์อาศัยอยู่ในยุคจูแรสสิก และมีลักษณะกึ่งนกกึ่งเทอโรพอด โดยอาร์คีออพเทอริกซ์ต่างจากนกในปัจจุบันตรงที่มีสามเล็บยื่นออกมาจากอุ้งมือ มีฟันที่ปาก และมีกระดูกหางยาว แต่ขณะเดียวกันบริเวณลำตัวก็มีขนนกปกคลุม ทำให้นักปักษีวิทยาเชื่อว่าอาร์คีออพเทอริกซ์น่าจะเป็นบรรพบุรุษของนกในปัจจุบัน

เมื่อเร็วๆ นี้ได้มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์คริพโทโวแลนส์ที่ประเทศจีน ซึ่งมีสันที่กระดูกอก และส่วนยื่นรูปตะขอต่อที่ซี่โครง ซากดึกดำบรรพ์คริพโทโวแลนส์จึงนับว่ามีความเป็นนกมากกว่าซากดึกดำบรรพ์ใดๆ ที่เคยค้นพบ

กายวิภาคเพื่อการบิน

ทุกส่วนในร่างกายของนกถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมกับการเป็นเจ้าเวหาอย่างแท้จริง เริ่มจากกระดูก ที่ภายในมีลักษณะกลวงคล้ายรวงผึ้ง ทำให้เบาแต่แข็งแรง นกบางชนิดในวงศ์นกโจรสลัด เมื่อกางปีกจะกว้างถึง 2 เมตร แต่น้ำหนักกระดูกทั้งหมดเพียงแค่ 113 กรัมเท่านั้น

นอกจากนี้อวัยวะภายในบางอย่างของนกจะถูกตัดทอนออกไปเพื่อลดน้ำหนักตัวให้ได้มากที่สุด เช่นรังไข่ของตัวเมียที่เหลือเพียงข้างเดียว และปากที่ไร้ฟัน โดยนกจะไม่เคี้ยวอาหาร แต่กลืนลงไปย่อยในกึ๋นแทน

การบินของนกต้องใช้พลังงานจากเมแทบอลิซึมเป็นอย่างมาก นกจึงมีระบบหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิตอันทรงประสิทธิภาพ จากหัวใจที่มี 4 ห้อง และท่อที่เชื่อมต่อระหว่างปอดกับถุงลมทั่วลำตัว

เพื่อความปลอดภัยในการบิน นกจึงต้องมีสัมผัสอันว่องไว โดยเฉพาะสัมผัสทางสายตา นกบางชนิดมีสายตาอันคมกริบ อาจกล่าวได้ว่าเป็นสายตาที่ดีที่สุดในบรรดาสายตาของสัตว์มีกระดูกสันหลังด้วยกัน สมองส่วนรับภาพของนกพัฒนาไปมาก เช่นเดียวกับสมองส่วนควบคุมการเคลื่อนไหว เพราะการบินที่ดีต้องอาศัยการประสานงานที่ดีของทุกส่วนในร่างกายนั่นเอง

สิ่งที่ขาดไปไม่ได้สำหรับการบินคือ ปีก นกมีปีกที่เป็นไปตามหลักอากาศพลศาสตร์ ซึ่งช่วยให้เกิดแรงยกขณะบิน ในการกระพือปีก นกจะใช้กล้ามเนื้ออกอันแข็งแรงที่ติดอยู่กับกระดูกอก นกที่บินเร็วที่สุดคือนกในวงศ์นกแอ่นบินเร็ว ซึ่งบินได้เร็วถึง 170 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

ส่วนขนนกนั้นนับว่าเป็นพัฒนาการที่พิเศษสุดอย่างหนึ่งในบรรดาพัฒนาการของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ขนนกเป็นส่วนประกอบของเคราติน มีลักษณะเบาแต่แข็งแรง ขนนกช่วยป้องกันนกจากแสงแดด ช่วยในการหาคู่ ช่วยในการปรับอุณหภูมิของร่างกาย และที่สำคัญที่สุดคือช่วยในด้านการบินของนก

ความเป็นอยู่

อาหารการกิน

ในแต่ละวันนกต้องการอาหารจำนวนมากเพื่อนำไปใช้ในกระบวนการเมแทบอลิซึม (metabolism) โดยนกแต่ละชนิดจะหาอาหารที่แตกต่างกันออกไป นกบางชนิดเลี้ยงชีพด้วยน้ำต้อย บางชนิดเลี้ยงชีพด้วยธัญพืช แมลง สัตว์พวกหนู สัตว์พวกกิ้งก่า ปลา ซากเน่า ไปจนถึงนกด้วยกัน นกจะพัฒนารูปร่าง ปีก ขา และปาก ให้มีลักษณะเหมาะสมกับการหาอาหาร นกส่วนใหญ่เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางวัน มีนกเพียงบางชนิดเท่านั้นที่หากินในเวลากลางคืน

นกบางชนิดหากินร่วมกันเป็นฝูง เช่น ฝูงนกนางนวลที่บินร่อนหาปลาตามชายทะเล หรือฝูงนกเป็ดน้ำรวมตัวกันแหวกว่ายอยู่ในบึง ซึ่งการหากินร่วมกันเป็นฝูงใหญ่ช่วยให้นกหาอาหารง่ายขึ้นและได้ปริมาณมากกว่าหากินตามลำพัง รวมทั้งยังช่วยกันระวังภัยได้เป็นอย่างดี

ส่วนนกบางชนิดก็มีพฤติกรรมการหาอาหารร่วมกับสัตว์อื่น เช่น นกเอี้ยงที่หากินร่วมกับวัวควาย โดยนกเอี้ยงจะคอยจับแมลงที่พากันบินหนีขึ้นมาเมื่อวัวควายเดินย่ำไปบนดิน นอกจากนี้นกเอี้ยงยังชอบเกาะบนตัววัวควายเพื่อจับแมลงที่บินตอมตามตัววัวควายอีกด้วย

ถิ่นอาศัย

นกแต่ละชนิดมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับถิ่นอาศัยต่าง ๆ เราจึงสามารถพบนกได้ทุกหนทุกแห่งในสภาพแวดล้อมอันหลากหลาย ซึ่งพอจะแบ่งถิ่นอาศัยของนกได้ดังนี้

มีนกหลายชนิดที่เดินหากินตามแนวหาดทรายชายทะเล เช่น นกหัวโตมลายู และ นกยางทะเล เป็นต้น ขณะที่นกหลายชนิดโผผินบินร่อนอยู่ตามหน้าผาริมทะเล หรือแม้แต่ในทะเลลึกก็เป็นแหล่งหากินของนกขนาดใหญ่ เช่น นกโจรสลัด ซึ่งนกโจรสลัดสามารถบินวนอยู่บนท้องฟ้าได้เป็นเวลาหลายวันโดยไม่ต้องร่อนลงบนพื้นดิน โดยนกที่หากินในท้องทะเลนี้ เรามักเรียกว่า นกทะเล
ตามแนวชายฝั่งที่มีไม้ชายเลนขึ้นหนาแน่นเป็นถิ่นอาศัยของนกมากมาย เช่น นกกินเปี้ยว และ เหยี่ยวแดง เป็นต้น โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวจะมีนกอพยพย้ายถิ่นเข้ามาพักอาศัยเป็นจำนวนมาก นกที่หากินตามป่าชายเลนนี้มีชื่อเรียกโดยรวมว่า นกชายเลน นอกจากนี้ก็มีฝูงนกนางนวลซึ่งเป็นนกทะเลหากินบริเวณนี้ด้วย
พื้นที่เกษตรกรรมแถบชานเมืองหรือในชนบทเป็นที่อยู่ของนกหลายชนิด นกที่อาศัยอยู่ตามทุ่งนาหรือทุ่งหญ้าโล่ง เรามักเรียกกันว่า นกทุ่ง เช่น นกตะขาบทุ่ง นกกระจิบหญ้า เป็นต้น ส่วนนกที่อาศัยตามแหล่งน้ำ เช่น หนอง บึง ทะเลสาบ เรามักเรียกว่า นกน้ำ เช่น นกยาง นกเป็ดน้ำ และ นกกวัก เป็นต้น
  • ป่าไม้ประเภทต่าง ๆ
ถือว่าเป็นสถานที่ที่มีนกอาศัยอยู่มากกว่าแห่งอื่น เนื่องจากเหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของนกนานาชนิด เช่น นกเงือก นกขุนแผน นกโพระดก และ นกแต้วแล้ว เป็นต้น นกที่อาศัยหากินในป่ามีชื่อเรียกโดยรวมว่า นกป่า
  • สภาพแวดล้อมอื่น ๆ
นกบางชนิดมีการปรับตัวจนสามารถอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แม้แต่สัตว์อื่นยังอาศัยอยู่ได้ยาก เช่น ทะเลทราย ขั้วโลกใต้ หรือแม้แต่ในเมือง

ในปัจจุบันมีการนำดีเอ็นเอมาใช้จัดจำแนกนกแล้ว โดยงานที่สำคัญคือ Sibley & Ahlquist's Phylogeny and Classification of Birds (1990) แต่การจัดจำแนกนกในที่นี้ยึดตาม Handbook of Birds of the World ซึ่งจัดอันดับนกโดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาเป็นหลัก และแบ่งนกออกเป็นอันดับต่าง ๆ ดังนี้

Paleognathae

อันดับใหญ่ Paleognathae (ตามรากศัพท์แปลว่า ขากรรไกรแบบเก่า) ประกอบด้วยนกอันดับต่าง ๆ ดังนี้

Neognathae

อันดับใหญ่ Neognathae (ตามรากศัพท์แปลว่า ขากรรไกรแบบใหม่) ประกอบด้วยนกอันดับต่าง ๆ ดังนี้

Aves
Palaeognathae

Struthioniformes[1] (ostriches)


Notopalaeognathae

Rheiformes (rheas)



Novaeratitae


Casuariiformes (cassowaries & emus)




Apterygiformes (kiwi)



Aepyornithiformes (elephant birds)







Tinamiformes (tinamous)



Dinornithiformes (moa)






Neognathae
Galloanserae

Galliformes (chickens and relatives)



Anseriformes (ducks and relatives)



Neoaves

Strisores

Caprimulgiformes[1] (nightjars)





Steatornithiformes (oilbird)



Nyctibiiformes (potoos)





Podargiformes (frogmouths)



Apodiformes (swifts and hummingbirds)








Columbaves
Otidimorphae

Musophagiformes (turacos)




Otidiformes (bustards)



Cuculiformes (cuckoos)




Columbimorphae

Columbiformes (pigeons)




Mesitornithiformes (mesites)



Pterocliformes (sandgrouse)








Gruiformes (rails and cranes)



Aequorlitornithes

Mirandornithes

Phoenicopteriformes (flamingos)



Podicipediformes (grebes)




Charadriiformes (waders and relatives)



Ardeae
Eurypygimorphae

Phaethontiformes (tropicbirds)



Eurypygiformes (sunbittern and kagu)



Aequornithes

Gaviiformes[1] (loons)




Austrodyptornithes

Procellariiformes (albatrosses and petrels)



Sphenisciformes (penguins)






Ciconiiformes (storks)




Suliformes (boobies, cormorants, etc.)



Pelecaniformes (pelicans, herons & ibises)








Inopinaves

Opisthocomiformes (hoatzin)


Telluraves

Accipitrimorphae

Cathartiformes (New World vultures)



Accipitriformes (hawks and relatives)





Afroaves

Strigiformes (owls)


Coraciimorphae

Coliiformes (mouse birds)


Cavitaves

Leptosomiformes (cuckoo roller)


Eucavitaves

Trogoniformes (trogons and quetzals)


Picocoraciae

Bucerotiformes (hornbills and relatives)




Coraciiformes (kingfishers and relatives)



Piciformes (woodpeckers and relatives)








Australaves

Cariamiformes (seriemas)


Eufalconimorphae

Falconiformes (falcons)


Psittacopasserae

Psittaciformes (parrots)



Passeriformes (passerines)















ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • รุ่งโรจน์ จุกมงคล, นก, สารคดี, 2542. ISBN 974-8211-71-1.>
  • โอภาส ขอบเขตต์, นกในเมืองไทย, สารคดี, 2541. ISBN 974-8211-70-3.
  • Boonsong Lekagul, Philip D. Round, A guide to the birds of Thailand, Saha Karn Bhaet, 1991. ISBN 974-85673-6-2.
  • Neil A. Campbell, Jane B. Reece, Biology, Addison-Wesley, 2002. ISBN 0-201-75054-6.
  1. 1.0 1.1 1.2 Boyd, John (2007). "NEORNITHES: 46 Orders" (PDF). John Boyd's website. สืบค้นเมื่อ 30 December 2017.