ผู้ใช้:Tony Patt/ทดลองเขียน/เขตเลือกตั้ง/เขตเลือกตั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ตามประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เขตเลือกตั้งที่ 1 ของกรุงเทพมหานคร ครอบคลุมพื้นที่เขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต (ยกเว้นแขวงถนนนครไชยศรี) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนปัจจุบันคือนางสาวกานต์กนิษฐ์ แห้วสันตติ สังกัดพรรคพลังประชารัฐ

แต่แรก เขตการเลือกตั้งที่ 1 มีพื้นที่อยู่บริเวณเขตดุสิตเดิม จนกระทั่งเมื่อมีจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 ขึ้น ได้มีการควบรวมพื้นที่เขตบางซื่อ (แยกออกจากเขตดุสิตเมื่อ พ.ศ. 2532) และเขตราชเทวี (แยกออกจากเขตพญาไทเมื่อ พ.ศ. 2532) เข้าไปในเขตเลือกตั้งเพิ่ม ส่วนหลังการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา หลังมีการเปลี่ยนระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตจากเขตละ 3 คนเป็น 1 คน เขตเลือกตั้งที่ 1 ก็ได้เปลี่ยนมาครอบคลุมเขตในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์แทน

ช่วงการเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 ได้มีการกลับไปใช้ระบบเลือกตั้งแบบเขตละ 3 คนดังเดิม จึงมีการเพิ่มเขตบางรัก เขตปทุมวัน และเขตราชเทวี เข้าไปในเขตเลือกตั้ง แต่หลัง พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา ก็ได้กลับไปใช้พื้นที่เขตบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ดังเดิมจนถึงปัจจุบัน

อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากเขตเลือกตั้งที่ 1 ที่มีชื่อเสียง ได้แก่หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช นายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี และนางลลิตา ฤกษ์สำราญ รองประธานสภาผู้แทนราษฎรหญิงคนแรกของประเทศไทย

การเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้ง[แก้]

  • พ.ศ. 2518 – เขตดุสิต
  • พ.ศ. 2519 – เขตดุสิต
  • พ.ศ. 2522 – เขตดุสิต
  • พ.ศ. 2526 – เขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)
  • พ.ศ. 2529 – เขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)
  • พ.ศ. 2531 – เขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)
  • พ.ศ. 2535/1 – เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี
  • พ.ศ. 2535/2 – เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี
  • พ.ศ. 2538 – เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี
  • พ.ศ. 2539 – เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี
  • พ.ศ. 2544 – เขตพระนครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
  • พ.ศ. 2548 – เขตพระนครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
  • พ.ศ. 2550 – เขตดุสิต, เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตปทุมวัน และเขตราชเทวี
  • พ.ศ. 2554 – เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตสัมพันธวงศ์
  • พ.ศ. 2557 – เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตสัมพันธวงศ์
  • พ.ศ. 2562 – เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต (ยกเว้นแขวงถนนนครไชยศรี)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร[แก้]

พ.ศ. 2518 – พ.ศ. 2543 (3 ที่นั่ง)[แก้]

ชุดที่ ช่วงเวลา ที่นั่ง 1 ที่นั่ง 2 ที่นั่ง 3
สมาชิก พรรค ประวัติการรับเลือกตั้ง สมาชิก พรรค ประวัติการรับเลือกตั้ง สมาชิก พรรค ประวัติการรับเลือกตั้ง
11 26 มกราคม พ.ศ. 2518 –
12 มกราคม พ.ศ. 2519

ประกอบ
ประยูรโภคราช
ชาติไทย พ.ศ. 2518
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2519
ไม่ได้รับเลือกตั้ง


ประทวน
รมยานนท์
ชาติไทย พ.ศ. 2518
ได้รับเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์
คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม พ.ศ. 2518
ได้รับเลือกตั้ง
12 4 เมษายน –
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
ไฟล์:Samak.jpg
สมัคร สุนทรเวช
ประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2519
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2522
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2526
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2529
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2531
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2535/1
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2535/2
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2538
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2539
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2543
ลาออกเพื่อลงสมัคร
รับเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.

ไฟล์:Thawit Seneewong Na Ayuthaya.jpg
ทวิช เสนีย์วงศ์
ณ อยุธยา
ประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2519
ได้รับเลือกตั้ง

ประเทศ
รมยานนท์
ประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2519
ได้รับเลือกตั้ง
13 22 เมษายน พ.ศ. 2522 –
19 มีนาคม พ.ศ. 2526
ประชากรไทย ไฟล์:บุญเทียม เขมาภิรัตน์.jpg
บุญเทียม
เขมาภิรัตน์
ประชากรไทย พ.ศ. 2522
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2526
ย้ายไปเขต 5


ศิริ ถิรพัธน์
ประชากรไทย พ.ศ. 2522
ได้รับเลือกตั้ง
14 24 เมษายน พ.ศ. 2526 –
1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529

ชูเกียรติ
ประมวลผล
ประชากรไทย พ.ศ. 2526
ได้รับเลือกตั้ง

จิตรพล ณ ลำปาง
ประชากรไทย พ.ศ. 2526
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2529
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2531
ได้รับเลือกตั้ง

15 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 –
29 เมษายน พ.ศ. 2531
ไฟล์:ลลิตา ฤกษ์สำราญ.jpg
ลลิตา
ฤกษ์สำราญ
ประชากรไทย พ.ศ. 2529
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2531
ได้รับเลือกตั้ง

16 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 –
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
17 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 –
30 มิถุนายน พ.ศ. 2535
ไฟล์:321.jpg
วินัย สมพงษ์
พลังธรรม พ.ศ. 2535/1
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2535/2
ได้รับเลือกตั้ง

ไฟล์:ลลิตา ฤกษ์สำราญ.jpg
ลลิตา
ฤกษ์สำราญ
ประชากรไทย พ.ศ. 2535/1
ได้รับเลือกตั้ง
18 13 กันยายน พ.ศ. 2535 –
19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538

อากร ฮุนตระกูล
พลังธรรม พ.ศ. 2535/2
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2536
ลาออก
[a]

ไฟล์:ลลิตา ฤกษ์สำราญ.jpg
ลลิตา
ฤกษ์สำราญ
ประชากรไทย พ.ศ. 2536 (ซ่อม)
ได้รับเลือกตั้ง
[b]


พ.ศ. 2538
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2539
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2544
ย้ายไปเขต 3

19 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 –
27 กันยายน พ.ศ. 2539

เดโช สวนานนท์
ประชากรไทย พ.ศ. 2538
ได้รับเลือกตั้ง
20 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 –
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
ไฟล์:Bighoy.jpg
ธวัชชัย สัจจกุล
ประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2539
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2544
ย้ายไปเขต 21

พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2549 (1 ที่นั่ง)[แก้]

ชุดที่ ช่วงเวลา สมาชิก พรรค ประวัติการรับเลือกตั้ง
21 6 มกราคม พ.ศ. 2544 –
21 ธันวาคม พ.ศ. 2547

ศิริ หวังบุญเกิด
ไทยรักไทย พ.ศ. 2544
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2548
ไม่ได้รับเลือกตั้ง

22 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 –
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549

เจิมมาศ จึงเลิศศิริ
ประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2548
ได้รับเลือกตั้ง

พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554 (3 ที่นั่ง)[แก้]

ชุดที่ ช่วงเวลา ที่นั่ง 1 ที่นั่ง 2 ที่นั่ง 3
สมาชิก พรรค ประวัติการรับเลือกตั้ง สมาชิก พรรค ประวัติการรับเลือกตั้ง สมาชิก พรรค ประวัติการรับเลือกตั้ง
23 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 –
10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

หม่อมหลวง
อภิมงคล โสณกุล
ประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2550
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2554
ย้ายไปเขต 3


อรอนงค์
กาญจนชูศักดิ์
ประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2550
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2554
ย้ายไปเขต 2


เจิมมาศ จึงเลิศศิริ
ประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2550
ได้รับเลือกตั้ง

พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน (1 ที่นั่ง)[แก้]

ชุดที่ ช่วงเวลา สมาชิก พรรค ประวัติการรับเลือกตั้ง
24 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 –
9 ธันวาคม พ.ศ. 2556

เจิมมาศ จึงเลิศศิริ
ประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2554
ได้รับเลือกตั้ง


พ.ศ. 2562
ไม่ได้รับเลือกตั้ง

25 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 –
ปัจจุบัน

กานต์กนิษฐ์
แห้วสันตติ
พลังประชารัฐ พ.ศ. 2562
ได้รับเลือกตั้ง

ผลการเลือกตั้ง[แก้]

พ.ศ. 2536 (ซ่อม)[แก้]

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 1 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2536[1]
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย ลลิตา ฤกษ์สำราญ (2) 37,758 55.13
พลังธรรม ประสาร มฤคพิทักษ์ (1) 30,728 44.87
ผลรวม 68,486 100.00
บัตรดี 68,486 97.25
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 743 1.06
บัตรเสีย 1,192 1.69
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 70,421 24.76
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 284,382 100.00
ประชากรไทย ได้ที่นั่งจาก พลังธรรม

พ.ศ. 2538[แก้]

พ.ศ. 2539[แก้]

พ.ศ. 2544[แก้]

พ.ศ. 2548[แก้]

พ.ศ. 2550[แก้]

พ.ศ. 2554[แก้]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เจิมมาศ จึงเลิศศิริ (10)* 40,328 63.60
เพื่อไทย พลตำรวจตรี รุ่งโรจน์ เภกะนันทน์ (1) 20,230 31.91
รักษ์สันติ ศิริ หวังบุญเกิด (12) 2,193 3.46
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ประวิทย์ ติยะปัญจนิตย์ (2) 338 0.53
กิจสังคม บุญล้อม อิงคเวทย์ (14) 137 0.22
ประชาสันติ จุลดา รุ่งจิรโรจน์ (33) 88 0.14
เพื่อฟ้าดิน ข้าพุทธ ขาวดารา (18) 42 0.07
ความหวังใหม่ ชัยธนพล ศรีจิวังษา (34) 28 0.04
เพื่อนเกษตรไทย วรา บัณฑุนาค (39) 21 0.03
ผลรวม 63,405 100.00
บัตรดี 63,405 83.39
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,344 10.97
บัตรเสีย 4,284 5.63
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 76,033 70.71
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,531 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

พ.ศ. 2562[แก้]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2562
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ กานต์กนิษฐ์ แห้วสันตติ (14) 23,246 28.61
อนาคตใหม่ นพมาศ การุญ (11) 18,091 22.26
เพื่อไทย ลีลาวดี วัชโรบล (9)* 15,904 19.57 −12.34
ประชาธิปัตย์ เจิมมาศ จึงเลิศศิริ (3)* 14,348 17.66 −45.94
เศรษฐกิจใหม่ มงคล เสมอภาพ (21) 4,522 5.57
เสรีรวมไทย ร้อยเอก วัชราภรณ์ สังวรโยธิน (17) 1,687 2.08
ภูมิใจไทย ทวีพร อนุตรพงษ์สกุล (13) 806 0.99
รวมพลังประชาชาติไทย เตช เตชะพัฒน์สิริ (7) 547 0.67
พลังท้องถิ่นไท ธเนษฐ เศรษฐาวาณิช (2) 426 0.52
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย กอบชัย ชยามฤต (12) 301 0.37
ประชาชนปฏิรูป ดรัณภัทร วิชชาวุธ (5) 268 0.33
ไทยศรีวิไลย์ ณัฐปภัสร์ วรธันย์ผาสุข (1) 223 0.27
ชาติไทยพัฒนา กรีณรงค์ ชาตรี (4) 212 0.26
เพื่อชาติ ณัฏฐ์พงษ์ ยงใจยุทธ (10) 168 0.21
ประชาชาติ รวิโชติ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (6) 91 0.11
ภราดรภาพ ณัฐพล หวังชูเชิดกุล (20) 62 0.08
ประชาภิวัฒน์ ธนชาต เมฆวันวรา (15) 54 0.07
ถิ่นกาขาวชาววิไล เรียบ ประทุมฝาง (19) 36 0.04
แผ่นดินธรรม จ่าเอก พิพัฒน์ วงษ์ฤทธิ์ (23) 34 0.04
เพื่อแผ่นดิน วิเชียร โมไนยกุล (16) 33 0.04
พลังชาติไทย หฤษฎ์ หนูเอี่ยม (24) 27 0.03
มหาชน พัทธ์ฐิชา ณิชยรวีพัชร์ (26) 25 0.03
ไทรักธรรม ภฤศ วัฒนธาดากุล (30) 25 0.03
ครูไทยเพื่อประชาชน พงศ์ชิษณุ พีรดาจิราวัฒน์ (25) 24 0.03
ประชานิยม วิสุดา จงสกุลชัย (18) 23 0.03
ประชาธรรมไทย หนึ่งฤทัย หัสดิน (28) 21 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย อรุณรัตน์ ศิลปธรรมธาดา (29) 20 0.02
มติประชา วัลลี แอสุวรรณ์ (22) 18 0.02
พลังศรัทธา กันญภัทร นครังสุ (27) 15 0.02
ชาติพัฒนา อนุสรณ์ เกษมวรรณ (8)
ผลรวม 81,257 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

หมายเหตุ[แก้]

  1. ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2536[1]
  2. จัดขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2536[1]

อ้่างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 รายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แทนตำแหน่งที่ว่างในเขตเลือกตั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร วันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม 2536. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการองค์กรกลางการเลือกตั้ง. 2536. ISBN 974-7771-58-6. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2562. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)