ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยง ภู่วรวรรณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
Pp expired
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บัญชีผู้ใช้ (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับอ้างอิง
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
|date= 13 Jul 2021
|date= 13 Jul 2021
|access-date= 13 Jul 2021}}</ref>
|access-date= 13 Jul 2021}}</ref>

== ความเห็นทางการแพทย์ที่เป็นที่ถกเถียง ==

* อ้างว่าวัคซีนเชื้อตายเช่นซิโนแวค มีความปลอดภัยกว่าวัคซีนแบบ mRNA โดยที่ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยัน<ref>{{Cite web|date=2021-01-07|title=วัคซีนป้องกัน COVID-19 มีอะไรบ้าง? ชวนเข้าใจความแตกต่างของวัคซีนแต่ละชนิด|url=https://thematter.co/quick-bite/covid19-vaccines-types/132358|website=The MATTER|language=en-US}}</ref>
* อ้างว่าวัคซีนเชื้อตายเช่นซิโนแวค มีผลข้างเคียงน้อยกว่าวัคซีนแบบ mRNA โดยที่ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยัน<ref>{{Cite web|last=matichon|date=2021-06-28|title=หมอยง เปิดข้อมูล 4 เทคโนโลยีวัคซีน ชี้ 'เชื้อตาย' ภูมิต้านทาน-ผลข้างเคียง น้อยกว่า mRNA|url=https://www.matichon.co.th/local/news_2798943|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref> และข้อมูลจากหลายประเทศพบว่า สัดส่วนผู้ที่ได้รับผลข้างเคียงจากวัคซีนซิโนแวค<ref>www.WHO-2019-nCoV-vaccines-SAGE-recommendation-Sinovac-CoronaVac-2021.1-eng.pdf</ref> <ref>COVID-19-vaccine-reports-08-March-2021.pdf (fda.gov.ph)</ref>มีสูงกว่าวัคซีนแบบ mRNA<ref>{{Cite journal|last=CDCMMWR|date=2021|title=Allergic Reactions Including Anaphylaxis After Receipt of the First Dose of Pfizer-BioNTech COVID-19 Vaccine — United States, December 14–23, 2020|url=https://www.cdc.gov/mmwr/volumes/70/wr/mm7002e1.htm|journal=MMWR. Morbidity and Mortality Weekly Report|language=en-us|volume=70|doi=10.15585/mmwr.mm7002e1|issn=0149-2195}}</ref>
* อ้างว่าวัคซีนทุกชนิดรวมถึงชนิดเชื้อตายเช่นซิโนแวค สามารถป้องกันการเสียชีวิตได้ 100% <ref>{{Cite web|last=pum|date=2021-04-11|title=หมอยง ยัน "แอสตร้าเซนเนก้า" ป้องกันความรุนแรงโควิดสายพันธุ์อังกฤษได้|url=https://www.prachachat.net/csr-hr/news-647896|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref> ซึ่งไม่เป็นความจริง เนื่องจากมีประชาชนจำนวนมากเสียชีวิตทั้งที่ฉีดวัคซีนซิโนแวคเป็นจำนวนครบ 2 เข็มแล้ว<ref>{{Cite web|last=matichon|date=2021-06-27|title=สื่อมะกันตีข่าว แพทย์อินโดฯ ติดโควิด ดับ 10 รายในเดือนเดียว แม้ฉีดซิโนแวคครบ 2 เข็ม|url=https://www.matichon.co.th/foreign/news_2798155|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|title=เปิดยอดบุคลากรทางการแพทย์ฉีดซิโนแวค 2 เข็ม ติด'โควิด-19'|url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/948304|website=https://www.bangkokbiznews.com/|language=th}}</ref>
* อ้างว่าวัคซีนแบบเชื้อตายน่าจะป้องกันเชื้อกลายพันธุ์ได้ดีกว่าวัคซีน mRNA ทั้งที่ไม่มีการศึกษาทางการแพทย์ใดๆ รับรอง และข้อมูลที่ปรากฎภายหลังพบว่าความเห็นของเขาไม่เป็นความจริง โดยทางการจีนให้การรับรองแล้วว่าวัคซีนแบบ mRNA ป้องกันเชื้อกลายพันธุ์ได้ดีกว่า<ref>{{Cite web|date=2021-07-16|title=จีนเตรียมฉีดวัคซีน mRNA จาก Pfizer-BioNTech เป็นวัคซีนเข็มที่ 3 หลังมีประสิทธิภาพต้านเชื้อกลายพันธ์ุได้ดีกว่าวัคซีนเชื้อตาย|url=https://thestandard.co/china-3rd-vaccine-by-pfizer-biontech/|website=THE STANDARD|language=th}}</ref>
* อ้างว่าการฉีดวัคซีนซิโนแวค 1 เข็มตามด้วยแอสตราซิเนเก้าอีก 1 เข็ม สามารถให้ผลได้เทียบเท่าการฉีดแอสตราซิเนเก้า 2 เข็ม โดยที่ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยัน<ref>{{Cite web|title='หมอยง' ยันปลอดภัยฉีดวัคซีนสลับชนิด ภูมิต้านทานสายพันธุ์เดลต้าเทียบแอสตราฯ 2 เข็ม|url=https://www.thaipost.net/main/detail/109562|website=Thai Post {{!}} อิสรภาพแห่งความคิด|language=en}}</ref>
* อ้างว่าการฉีดวัคซีนต่างชนิดกัน อาจทำให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีกว่าการฉีดวัคซีนชนิดเดียว ซึ่งไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์รับรอง<ref>{{Cite web|last=สำนักสารนิเทศ|title=สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข|url=https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/04/161198/|website=pr.moph.go.th|language=en}}</ref>
* อ้างว่าการฉีดวัคซีนซิโนแวคสลับกับแอสตราเซเนก้ามีความปลอดภัย โดยอ้างอิงจากผลการศึกษา 1,200 คนที่ไม่ได้รับการเปิดเผยและไม่มีการตีพิมพ์<ref>{{Cite web|last=สำนักสารนิเทศ|title=สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข|url=https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/04/161198/|website=pr.moph.go.th|language=en}}</ref> อย่างไรก็ตาม องค์การอนามัยโลกได้ออกประกาศเตือนไม่ให้แต่ละชาติทำการสลับวัคซีนเองโดยที่ไม่ได้มีการศึกษาอย่างเปิดเผย<ref>{{Cite web|title=WHOติงสลับวัคซีน!ไทยยันปลอดภัย|url=https://www.thaipost.net/main/detail/109606|website=Thai Post {{!}} อิสรภาพแห่งความคิด|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|date=2021-07-15|title=ฉีดวัคซีน “สลับ” ยี่ห้อ “คำเตือน” จาก “WHO”|url=https://www.thairath.co.th/news/local/2140070|website=www.thairath.co.th|language=th}}</ref>
* อ้างว่าสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดของโรคปอดบวมอู่ฮั่น ก็คงจะไม่เลวร้ายไปกว่าการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ในระยะแรกก็ตื่นตระหนกเช่นเดียวกัน หลังจากระบาดใหญ่ไวรัสตัวนี้ก็ประจำถิ่น เป็นไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลไป ซึ่งไม่เป็นความจริง เนื่องจากไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 มียอดผู้เสียชีวิตประมาณ 2 หมื่นคน ในขณะที่ปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตจากโควิดประมาณ 4 ล้านคน<ref>{{Cite web|title=WHO Coronavirus (COVID-19) Dashboard|url=https://covid19.who.int/|website=covid19.who.int|language=en}}</ref>


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:30, 16 กรกฎาคม 2564

ยง ภู่วรวรรณ
ยงในปี 2550
เกิด5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 (73 ปี)
จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย
สัญชาติไทย
ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มีชื่อเสียงจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศไทย

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ราชบัณฑิตและหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[1] และเป็นที่ปรึกษาสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ให้กับรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา[2] ในระหว่างการฉีดวัคซีนโรคโควิด-19 ในประเทศไทย เขาถูกวิจารณ์อย่างหนักจากบทบาทในการสนับสนุนวัคซีนของซิโนแว็กซึ่งถูกกล่าวหาว่าเป็นไปโดยไม่มีหลักฐานทางวิชาการมารองรับ[3]

เขาได้รับการยอมรับในสาขาวิทยาตับเด็ก, ไวรัสตับอักเสบ และได้รับการเชื่อถือเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านไข้หวัดนก H5N1 ในประเทศไทย[4]

ประวัติ

ยงเกิดวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นแฝดผู้น้องของยืน ภู่วรวรรณ หลังจากนั้นได้ย้ายไปอยู่ภูมิลำเนาเดิมของแม่ ที่ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จบการศึกษามัธยมจากพระปฐมวิทยาลัย และ มัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา หลังจากนั้น เข้าศึกษาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้ารับการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขากุมารเวชศาสตร์ (2518-2521) จากนั้นบรรจุเข้ารับราชการเป็นอาจารย์ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ และได้ไปฝึกอบรมเป็น research fellow ที่ King’s College Hospital Medical School กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร

เขาเข้ารับราชการเป็นอาจารย์ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 จนดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ 11 ในสาขาวิชากุมารเวชศาสตร์ ปัจจุบันเป็นหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก และหัวหน้าโครงการวิจัยโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำของศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บทบาททางการแพทย์และสาธารณสุข

เมื่อครั้งที่มีการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศไทย ยงเป็นที่ปรึกษาสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ให้กับรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา[2] ในปี พ.ศ. 2564 ขณะการฉีดวัคซีนโรคโควิด-19 ในประเทศไทย เขาถูกวิจารณ์อย่างหนักจากบทบาททางด้านนโยบาย โดยเฉพาะการสนับสนุนวัคซีนของซิโนแว็กโดยไม่มีหลักฐานทางวิชาการมารองรับ อาทิ สนับสนุนการตัดสินใจรอการสั่งซื้อวัคซีนไปจนถึงปี 2565 โดยอ้างว่าควรรอให้ตลาดเป็นของผู้ซื้อเพื่อให้ซื้อวัคซีนได้ในราคาถูก[5] ออกมาแสดงความคิดเห็นสนับสนุนวัคซีนซิโนแวกอย่างต่อเนื่อง[6][7] แนะนำให้ฉีดวัคซีนซิโนแวกหรือซิโนฟาร์มสามเข็มเพื่อป้องกันโควิดสายพันธุ์เดลต้าว่า "จะทำให้ภูมิต้านทานสูงเป็นน้อง ๆ ของไฟเซอร์"[8] แม้จะยังไม่มีผลการวิจัยรองรับ[9] สนับสนุนการขยายเวลาการฉีดวัคซีนของแอสตราเซเนกาเข็มที่สองออกไปเป็น 16 สัปดาห์ขัดกับคำแนะนำขององค์การอนามัยโลกซึ่งระบุระยะการฉีดระหว่างโดสแรกและโดสที่สองไว้ที่ 8–12 สัปดาห์[10] หรือเปิดเผยผลงานวิจัยที่มีขนาดตัวอย่างเพียง 2 รายจนเป็นที่ถกเถียงถึงความน่าเชื่อถือของงานวิจัยดังกล่าว[11][12] เป็นผลให้ถูกเสนอให้ถอดถอนชื่อออกจากการเป็นหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก[3]

บทความของเขาบนวิกิพีเดียภาษาไทยถูกก่อกวนเพิ่มข้อมูลอ้างว่าเขาเป็น "เซลล์ขายวัคซีน Sinovac" ซึ่งต่อมาผู้ก่อเหตุถูกตำรวจจับกุมตัวในความผิดฐานหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา[13]

ความเห็นทางการแพทย์ที่เป็นที่ถกเถียง

  • อ้างว่าวัคซีนเชื้อตายเช่นซิโนแวค มีความปลอดภัยกว่าวัคซีนแบบ mRNA โดยที่ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยัน[14]
  • อ้างว่าวัคซีนเชื้อตายเช่นซิโนแวค มีผลข้างเคียงน้อยกว่าวัคซีนแบบ mRNA โดยที่ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยัน[15] และข้อมูลจากหลายประเทศพบว่า สัดส่วนผู้ที่ได้รับผลข้างเคียงจากวัคซีนซิโนแวค[16] [17]มีสูงกว่าวัคซีนแบบ mRNA[18]
  • อ้างว่าวัคซีนทุกชนิดรวมถึงชนิดเชื้อตายเช่นซิโนแวค สามารถป้องกันการเสียชีวิตได้ 100% [19] ซึ่งไม่เป็นความจริง เนื่องจากมีประชาชนจำนวนมากเสียชีวิตทั้งที่ฉีดวัคซีนซิโนแวคเป็นจำนวนครบ 2 เข็มแล้ว[20][21]
  • อ้างว่าวัคซีนแบบเชื้อตายน่าจะป้องกันเชื้อกลายพันธุ์ได้ดีกว่าวัคซีน mRNA ทั้งที่ไม่มีการศึกษาทางการแพทย์ใดๆ รับรอง และข้อมูลที่ปรากฎภายหลังพบว่าความเห็นของเขาไม่เป็นความจริง โดยทางการจีนให้การรับรองแล้วว่าวัคซีนแบบ mRNA ป้องกันเชื้อกลายพันธุ์ได้ดีกว่า[22]
  • อ้างว่าการฉีดวัคซีนซิโนแวค 1 เข็มตามด้วยแอสตราซิเนเก้าอีก 1 เข็ม สามารถให้ผลได้เทียบเท่าการฉีดแอสตราซิเนเก้า 2 เข็ม โดยที่ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยัน[23]
  • อ้างว่าการฉีดวัคซีนต่างชนิดกัน อาจทำให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีกว่าการฉีดวัคซีนชนิดเดียว ซึ่งไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์รับรอง[24]
  • อ้างว่าการฉีดวัคซีนซิโนแวคสลับกับแอสตราเซเนก้ามีความปลอดภัย โดยอ้างอิงจากผลการศึกษา 1,200 คนที่ไม่ได้รับการเปิดเผยและไม่มีการตีพิมพ์[25] อย่างไรก็ตาม องค์การอนามัยโลกได้ออกประกาศเตือนไม่ให้แต่ละชาติทำการสลับวัคซีนเองโดยที่ไม่ได้มีการศึกษาอย่างเปิดเผย[26][27]
  • อ้างว่าสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดของโรคปอดบวมอู่ฮั่น ก็คงจะไม่เลวร้ายไปกว่าการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ในระยะแรกก็ตื่นตระหนกเช่นเดียวกัน หลังจากระบาดใหญ่ไวรัสตัวนี้ก็ประจำถิ่น เป็นไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลไป ซึ่งไม่เป็นความจริง เนื่องจากไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 มียอดผู้เสียชีวิตประมาณ 2 หมื่นคน ในขณะที่ปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตจากโควิดประมาณ 4 ล้านคน[28]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งราชบัณฑิต,2558
  2. 2.0 2.1 ถอดรหัส “ความรื่นรมย์แห่งชีวิต” ของ ศ. นพ.ยง ภู่วรวรรณ มือปราบไวรัสเมืองไทย
  3. 3.0 3.1 "เดือด ผุดแคมเปญล่าชื่อปลด 'หมอยง' ปมหนุนวัคซีน "ซิโนแวค" เกินจริง". คมชัดลึก. 2021-06-19.
  4. ได้รับการยอมรับวิชาแพทย์
  5. "9 ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดหา/จัดการ วัคซีนโควิด-19 ที่สังคมไทยควรรู้ โดย ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ". mgronline.com (ภาษาอังกฤษ). 2021-01-19.
  6. ""หมอยง" ชี้ วัคซีนโควิด-19 "ไฟเซอร์ อิงค์" เข้าถึงยาก". ThaiQuote. 2020-11-12.
  7. "'หมอยง'เปรียบวัคซีนเป็นอาวุธสำคัญต่อสู้กับโควิดไทยไม่ควรรอทางตะวันตกย่างเดียว". Thai Post | อิสรภาพแห่งความคิด (ภาษาอังกฤษ).
  8. siree7. "หมอยง ชี้ฉีดซิโนแวค 2 เข็มยังไม่พอสู้สายพันธุ์อินเดีย เข็มที่ 3 ต้องมา!!". www.thebangkokinsight.com.
  9. 57 (2021-06-29). "หมอมานพ ชี้อีกมุม ซิโนแวค เข็ม 3 แรงน้องๆ ไฟเซอร์ ไร้ผลวิจัย-ข้อเท็จจริง รองรับ". ข่าวสด.{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  10. "คำอธิบายและข้อโต้แย้งเมื่อไทยเว้นระยะฉีดแอสตร้าเซนเนก้า 16 สัปดาห์". BBC News ไทย. สืบค้นเมื่อ 2021-07-14.
  11. "หมอไม่ทน ซัดกลับ นพ.ยง หลังบอกฉีด ซิโนแวค 2 เข็ม บวกแอสตราเซเนกา 1 ภูมิเพิ่ม 30 เท่า". ทีนิวส์. 2021-07-10.
  12. "ขนาดตัวอย่างเท่ากับหนึ่งหรือสอง เชื่อไม่ได้หรือ? ข้อกังขาว่าด้วยการกระตุ้นวัคซีนโควิดสลับกันในเข็มที่สาม". mgronline.com. 2021-07-10.
  13. "รวบหนุ่มวัย 24 แก้ข้อมูลวิกิพีเดีย 'หมอยง' เป็นเซลล์ขาย ซิโนแวค". ข่าวสด. 13 Jul 2021. สืบค้นเมื่อ 13 Jul 2021.
  14. "วัคซีนป้องกัน COVID-19 มีอะไรบ้าง? ชวนเข้าใจความแตกต่างของวัคซีนแต่ละชนิด". The MATTER (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2021-01-07.
  15. matichon (2021-06-28). "หมอยง เปิดข้อมูล 4 เทคโนโลยีวัคซีน ชี้ 'เชื้อตาย' ภูมิต้านทาน-ผลข้างเคียง น้อยกว่า mRNA". มติชนออนไลน์.
  16. www.WHO-2019-nCoV-vaccines-SAGE-recommendation-Sinovac-CoronaVac-2021.1-eng.pdf
  17. COVID-19-vaccine-reports-08-March-2021.pdf (fda.gov.ph)
  18. CDCMMWR (2021). "Allergic Reactions Including Anaphylaxis After Receipt of the First Dose of Pfizer-BioNTech COVID-19 Vaccine — United States, December 14–23, 2020". MMWR. Morbidity and Mortality Weekly Report (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 70. doi:10.15585/mmwr.mm7002e1. ISSN 0149-2195.
  19. pum (2021-04-11). "หมอยง ยัน "แอสตร้าเซนเนก้า" ป้องกันความรุนแรงโควิดสายพันธุ์อังกฤษได้". ประชาชาติธุรกิจ.
  20. matichon (2021-06-27). "สื่อมะกันตีข่าว แพทย์อินโดฯ ติดโควิด ดับ 10 รายในเดือนเดียว แม้ฉีดซิโนแวคครบ 2 เข็ม". มติชนออนไลน์.
  21. "เปิดยอดบุคลากรทางการแพทย์ฉีดซิโนแวค 2 เข็ม ติด'โควิด-19'". https://www.bangkokbiznews.com/. {{cite web}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  22. "จีนเตรียมฉีดวัคซีน mRNA จาก Pfizer-BioNTech เป็นวัคซีนเข็มที่ 3 หลังมีประสิทธิภาพต้านเชื้อกลายพันธ์ุได้ดีกว่าวัคซีนเชื้อตาย". THE STANDARD. 2021-07-16.
  23. "'หมอยง' ยันปลอดภัยฉีดวัคซีนสลับชนิด ภูมิต้านทานสายพันธุ์เดลต้าเทียบแอสตราฯ 2 เข็ม". Thai Post | อิสรภาพแห่งความคิด (ภาษาอังกฤษ).
  24. สำนักสารนิเทศ. "สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข". pr.moph.go.th (ภาษาอังกฤษ).
  25. สำนักสารนิเทศ. "สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข". pr.moph.go.th (ภาษาอังกฤษ).
  26. "WHOติงสลับวัคซีน!ไทยยันปลอดภัย". Thai Post | อิสรภาพแห่งความคิด (ภาษาอังกฤษ).
  27. "ฉีดวัคซีน "สลับ" ยี่ห้อ "คำเตือน" จาก "WHO"". www.thairath.co.th. 2021-07-15.
  28. "WHO Coronavirus (COVID-19) Dashboard". covid19.who.int (ภาษาอังกฤษ).
  29. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๒๒ ข หน้า ๔, ๔ ธันวาคม ๒๕๔๔
  30. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๒๓ ข หน้า ๑๓, ๒ ธันวาคม ๒๕๔๑
  31. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์, เล่ม ๑๒๐ ตอนที่ ๒๐ ข หน้า ๑๙, ๑ ธันวาคม ๒๕๔๖
  32. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา, เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๑๑ ข หน้า ๗, ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๑
  33. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๑ ข หน้า ๑๒๗, ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๘

แหล่งข้อมูลอื่น