ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ไทย–อินเดีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
สถานเอกอัครราชทูตไทยในอินเดียตั้งอยู่ที่[[กรุงนิวเดลี]] และมีสถานกุลไทยในอินเดีย 3 แห่ง ได้แก่ที่[[มุมไบ]] [[โกลกาตา]] และ[[เจนไน]] ในขณะที่สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทยตั้งอยู่ที่ซอยประสานมิตร [[เขตวัฒนา]] [[กรุงเทพมหานคร]] และมีสถานกงสุลอินเดียที่[[จังหวัดเชียงใหม่]]
สถานเอกอัครราชทูตไทยในอินเดียตั้งอยู่ที่[[กรุงนิวเดลี]] และมีสถานกุลไทยในอินเดีย 3 แห่ง ได้แก่ที่[[มุมไบ]] [[โกลกาตา]] และ[[เจนไน]] ในขณะที่สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทยตั้งอยู่ที่ซอยประสานมิตร [[เขตวัฒนา]] [[กรุงเทพมหานคร]] และมีสถานกงสุลอินเดียที่[[จังหวัดเชียงใหม่]]


นอกจากนี้ อินเดียและไทยยังมีความสัมพันธ์กันในเชิงวัฒนธรรมมานานหลายศตวรรษ โดยวัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียอย่างมาก เช่น คำในภาษาไทยที่มีรากมาจาก[[ภาษาสันสกฤต]]และ[[ภาษาบาลี]]ของ[[แคว้นมคธ]] ศาสนาพุทธแบบ[[เถรวาท]] หรือแม้แต่มหากาพย์[[รามายณะ]]ของฮินดูก็เป็นที่รู้จักดีในฐานะ[[รามเกียรติ์]]ของประเทศไทย
นอกจากนี้ อินเดียและไทยยังมีความสัมพันธ์กันในเชิงวัฒนธรรมมานานหลายศตวรรษ โดยวัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียอย่างมาก เช่น คำในภาษาไทยที่มีรากมาจาก[[ภาษาสันสกฤต]]และ[[ภาษาบาลี]]ของ[[แคว้นมคธ]] ศาสนาพุทธแบบ[[เถรวาท]] หรือแม้แต่มหากาพย์[[รามายณะ]]ของฮินดูก็เป็นที่รู้จักดีในฐานะ[[รามเกียรติ์]]ของประเทศไทย<ref>{{cite book|chapter=Thai Language and Literature: Glimpses of Indian Influence|doi=10.1007/978-981-10-3854-9_9|author=Ghosh L., Jayadat K.|title=India-Thailand Cultural Interactions|isbn=978-981-10-3854-9|publisher=Springer|date=30 August 2017|pages=135–160}}</ref>

== ความสัมพันธ์ทางการค้าในสมัยโบราณ ==
ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยกับอินเดียสืบต้นตอถึง 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยมีหลักฐานบ่งชี้ว่ามีความสัมพันธ์ทางการค้ากับอินเดียเหนือ (ลูกปัดคาร์เนเลี่ยนแกะสลัก) และอินเดียใต้ (ลูกปัดอินโด-แปซิฟิก)<ref>{{Cite journal|last1=Solheim|first1=Wilhelm G.|last2=FRANCIS|first2=PETER|date=2003|title=Review of ASIA'S MARITIME BEAD TRADE, 300 B.C. TO THE PRESENT, PETER FRANCIS, JR|url=https://www.jstor.org/stable/41493507|journal=Journal of the Malaysian Branch of the Royal Asiatic Society|volume=76|issue=2 (285)|pages=129–132|jstor=41493507|issn=0126-7353}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Bellina|first=Bérénice|date=Jan 2001|title=Alkaline Etched Beads East of India in the Late Prehistoric and early historic periods|url=https://www.researchgate.net/publication/251017199|journal=Bulletin de l'École française d'Extrême-Orient|volume=88|pages=191–205|doi=10.3406/befeo.2001.3513}}</ref>

== การพัฒนาในยุคปัจจุบัน ==
[[ไฟล์:นายกรัฐมนตรีและคณะ เยือนสาธารณรัฐอินเดียอย่างเป็นทางกา - Flickr - Abhisit Vejjajiva (46).jpg|thumb|นายกรัฐมนตรี[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]กับนายกรัฐมนตรีประเทศอินเดีย [[มันโมหัน สิงห์]] ขณะการเดินทางเยือนประเทศอินเดียอย่างเป็นทางการในปี 2011]]
อดีตนายกรัฐมนตรี [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เคยเดินทางเยี่ยมอินเดียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4-5 เมษายน 2011 ตามคำเชิญของ[[มันโมหัน สิงห์]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ซึ่งผู้นำของทั้งสองรัฐเห็นสมควรที่จะเพิ่มพูนความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและฟื้นฟูการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการรวมถึงเศรษฐกิจในระดับทวิภาคีและระดับภูมิภาค ผ่าน อาเซียน-อินเดีย (ASEAN-India), BIMSTEC และ MGC นอกจากนี้ยังได้มีการตกลงในการเพิ่มการค้าระหว่างประเทศจากมูลค่าการค้าปี 2010 ที่ 6.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นสองเท่าในปี 2014<ref>{{cite web |url=http://www.indiablooms.com/NewsDetailsPage/newsDetails060411g.php |title=Archived copy |website=www.indiablooms.com |access-date=11 January 2022 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110515203158/http://www.indiablooms.com/NewsDetailsPage/newsDetails060411g.php |archive-date=15 May 2011 |url-status=dead}}</ref>

อดีตนายกรัฐมนตรี [[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] เคยเดินทางเยี่ยมอินเดียอย่างเป็นทางการในเดือนมกราคม 2012 ในฐานะอาคันตุกะของรัฐเนื่องในวันสาธารณรัฐของอินเดีย ถือเป็นสัญลักษณ์สำคัญถึงความสัมพันธ์อันดีระกว่างของประเทศ ในการเดินทางเยี่ยมเยียนครั้งนั้นได้มีการลงนามในข้อตกลงทวิภาคี 6 ฉบับ หนึ่งในนั้นคือสนธิสัญญาว่าด้วยการส่งนักโทษข้ามแดน<ref>{{cite web|title=Brief on India - Thailand Relations|url=https://www.mea.gov.in/Portal/ForeignRelation/India-Thailand_Bilateral_Brief_for_website.pdf|publisher=Ministry of External Affairs, GoI|date=September 2019}}</ref>

นายกรัฐมนตรี [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เคยเดินทางเยี่ยมอินเดียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 16-18 มิถุนายน 2016 เข้าพบนายกรัฐมนตรีอินเดีย [[นเรนทระ โมที]] โดยมีการเพิ่มพูนข้อตกลงทางการค้า<ref>https://www.thairath.co.th/content/638820</ref>


== การเปรียบเทียบ ==
== การเปรียบเทียบ ==
บรรทัด 95: บรรทัด 106:
|}
|}


==อ้างอิง==
== การพัฒนาในยุคปัจจุบัน ==
{{รายการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:นายกรัฐมนตรีและคณะ เยือนสาธารณรัฐอินเดียอย่างเป็นทางกา - Flickr - Abhisit Vejjajiva (46).jpg|thumb|นายกรัฐมนตรี[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]กับนายกรัฐมนตรีประเทศอินเดีย [[มันโมหัน สิงห์]] ขณะการเดินทางเยือนประเทศอินเดียอย่างเป็นทางการในปี 2011]]
อดีตนายกรัฐมนตรี [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เคยเดินทางเยี่ยมอินเดียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4-5 เมษายน 2011 ตามคำเชิญของ[[มันโมหัน สิงห์]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ซึ่งผู้นำของทั้งสองรัฐเห็นสมควรที่จะเพิ่มพูนความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและฟื้นฟูการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการรวมถึงเศรษฐกิจในระดับทวิภาคีและระดับภูมิภาค ผ่าน อาเซียน-อินเดีย (ASEAN-India), BIMSTEC และ MGC นอกจากนี้ยังได้มีการตกลงในการเพิ่มการค้าระหว่างประเทศจากมูลค่าการค้าปี 2010 ที่ $6.7 พันล้าน เป็นสองเท่าในปี 2014<ref>[https://web.archive.org/web/20110515203158/http://www.indiablooms.com/NewsDetailsPage/newsDetails060411g.php ]</ref>

อดีตนายกรัฐมนตรี [[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] เคยเดินทางเยี่ยมอินเดียอย่างเป็นทางการในเดือนมกราคม 2012 ในฐานะอาคันตุกะของรัฐเนื่องในวันสาธารณรัฐของอินเดีย ถือเป็นสัญลักษณ์สำคัญถึงความสัมพันธ์อันดีระกว่างของประเทศ ในการเดินทางเยี่ยมเยียนครั้งนั้นได้มีการลงนามในข้อตกลงทวิภาคี 6 ฉบับ หนึ่งในนั้นคือสนธิสัญญาว่าด้วยการส่งนักโทษข้ามแดน

นายกรัฐมนตรี [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เคยเดินทางเยี่ยมอินเดียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 16-18 มิถุนายน 2016 เข้าพบนายกรัฐมนตรีอินเดีย [[นเรนทระ โมที]] โดยมีการเพิ่มพูนข้อตกลงทางการค้า<ref>https://www.thairath.co.th/content/638820</ref>


==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{Portal|ประเทศไทย|ประเทศอินเดีย}}
* {{cite book|last=Cœdès|first= George|authorlink= George Cœdès|editor= Walter F. Vella|others= trans.Susan Brown Cowing|title= The Indianized States of Southeast Asia|year= 1968|publisher= University of Hawaii Press|isbn= 978-0-8248-0368-1|ref=harv}}
* {{cite book|last=Cœdès|first= George|author-link= George Cœdès|editor= Walter F. Vella|others= trans.Susan Brown Cowing|title= The Indianized States of Southeast Asia|year= 1968|publisher= University of Hawaii Press|isbn= 978-0-8248-0368-1}}
*Lokesh, Chandra, & International Academy of Indian Culture. (2000). Society and culture of Southeast Asia: Continuities and changes. New Delhi: International Academy of Indian Culture and Aditya Prakashan.
*Lokesh, Chandra, & International Academy of Indian Culture. (2000). Society and culture of Southeast Asia: Continuities and changes. New Delhi: International Academy of Indian Culture and Aditya Prakashan.
*R. C. Majumdar, Study of Sanskrit in South-East Asia
*R. C. Majumdar, Study of Sanskrit in South-East Asia
บรรทัด 115: บรรทัด 122:
*[[R. C. Majumdar]], History of the Hindu Colonization and Hindu Culture in South-East Asia
*[[R. C. Majumdar]], History of the Hindu Colonization and Hindu Culture in South-East Asia
*[[Rejaul Karim Laskar]], "India-Thailand Relations", The Assam Tribune, June 23, 2011
*[[Rejaul Karim Laskar]], "India-Thailand Relations", The Assam Tribune, June 23, 2011
* {{cite book|author=Daigorō Chihara|title=Hindu-Buddhist Architecture in Southeast Asia|url=https://books.google.com/?id=wiUTOanLClcC&printsec=frontcover#v=onepage&q&f=false|year=1996|publisher=BRILL|isbn=90-04-10512-3}}
* {{cite book|author=Daigorō Chihara|title=Hindu-Buddhist Architecture in Southeast Asia|url=https://books.google.com/books?id=wiUTOanLClcC|year=1996|publisher=BRILL|isbn=90-04-10512-3}}

{{Portal|ประเทศไทย|ประเทศอินเดีย}}

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}


{{ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย}}
{{ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:39, 9 สิงหาคม 2565

ความสัมพันธ์ ไทย-อินเดีย
Map indicating location of อินเดีย and ไทย

อินเดีย

ไทย

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศอินเดีย (ฮินดี: भारत-थाईलैंड संबंध) เริ่มต้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2490 ไม่นานหลังจากอินเดียได้รับเอกราชจากจักรวรรดิบริติช ประเทศอินเดียและประเทศไทยมีพรมแดนทางทะเลที่ติดกันบริเวณหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ของอินเดียและทะเลอันดามันของประเทศไทย นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ไทยและอินเดียมีการสานต่อความสัมพันธ์อันดีต่อกันเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทั้งจากการเพิ่มความร่วมมือในเชิงธุรกิจและเศรษฐกิจ, การแลกเปลี่ยนกันเยี่ยมเยือนโดยผู้นำหรือตัวแทนระดับสูงของรัฐ และการลงนามในหลายข้อตกลงร่วมกันหลายฉบับเพื่อเพิ่มความแน่นแฟ้นในสายสัมพันธ์ระหว่างประเทศให้มีมากขึ้น นอกจากนี้ไทยกับอินเดียยังมีความสัมพันธ์กันในระดับพหุภาคีหลายส่วน เช่น ในฐานะความสัมพันธ์ของอินเดียกับอาเซียน, สภาภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Regional Forum; ARF), การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก และกลุ่มความร่วมมือบิมสเทค (BIMSTEC) ที่ประกอบด้วยบังกลาเทศ อินเดีย ศรีลังกา ไทย พม่า เนปาล และภูฏาน รวมถึงการเดินทางขนส่งระดับไตรภาคีระหว่างอินเดีย ไทย และพม่า อินเดียยังเป็นสมาชิกของความร่วมมือเอเชีย (Asia Cooperation Dialogue; ACD) และกลุ่มความร่วมมือแม่น้ำโขง-คงคา (Mekong–Ganga Cooperation; MGC) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกหกประเทศ

สถานเอกอัครราชทูตไทยในอินเดียตั้งอยู่ที่กรุงนิวเดลี และมีสถานกุลไทยในอินเดีย 3 แห่ง ได้แก่ที่มุมไบ โกลกาตา และเจนไน ในขณะที่สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทยตั้งอยู่ที่ซอยประสานมิตร เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร และมีสถานกงสุลอินเดียที่จังหวัดเชียงใหม่

นอกจากนี้ อินเดียและไทยยังมีความสัมพันธ์กันในเชิงวัฒนธรรมมานานหลายศตวรรษ โดยวัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียอย่างมาก เช่น คำในภาษาไทยที่มีรากมาจากภาษาสันสกฤตและภาษาบาลีของแคว้นมคธ ศาสนาพุทธแบบเถรวาท หรือแม้แต่มหากาพย์รามายณะของฮินดูก็เป็นที่รู้จักดีในฐานะรามเกียรติ์ของประเทศไทย[1]

ความสัมพันธ์ทางการค้าในสมัยโบราณ

ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยกับอินเดียสืบต้นตอถึง 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยมีหลักฐานบ่งชี้ว่ามีความสัมพันธ์ทางการค้ากับอินเดียเหนือ (ลูกปัดคาร์เนเลี่ยนแกะสลัก) และอินเดียใต้ (ลูกปัดอินโด-แปซิฟิก)[2][3]

การพัฒนาในยุคปัจจุบัน

นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะกับนายกรัฐมนตรีประเทศอินเดีย มันโมหัน สิงห์ ขณะการเดินทางเยือนประเทศอินเดียอย่างเป็นทางการในปี 2011

อดีตนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เคยเดินทางเยี่ยมอินเดียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4-5 เมษายน 2011 ตามคำเชิญของมันโมหัน สิงห์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ซึ่งผู้นำของทั้งสองรัฐเห็นสมควรที่จะเพิ่มพูนความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและฟื้นฟูการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการรวมถึงเศรษฐกิจในระดับทวิภาคีและระดับภูมิภาค ผ่าน อาเซียน-อินเดีย (ASEAN-India), BIMSTEC และ MGC นอกจากนี้ยังได้มีการตกลงในการเพิ่มการค้าระหว่างประเทศจากมูลค่าการค้าปี 2010 ที่ 6.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นสองเท่าในปี 2014[4]

อดีตนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เคยเดินทางเยี่ยมอินเดียอย่างเป็นทางการในเดือนมกราคม 2012 ในฐานะอาคันตุกะของรัฐเนื่องในวันสาธารณรัฐของอินเดีย ถือเป็นสัญลักษณ์สำคัญถึงความสัมพันธ์อันดีระกว่างของประเทศ ในการเดินทางเยี่ยมเยียนครั้งนั้นได้มีการลงนามในข้อตกลงทวิภาคี 6 ฉบับ หนึ่งในนั้นคือสนธิสัญญาว่าด้วยการส่งนักโทษข้ามแดน[5]

นายกรัฐมนตรี ประยุทธ์ จันทร์โอชา เคยเดินทางเยี่ยมอินเดียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 16-18 มิถุนายน 2016 เข้าพบนายกรัฐมนตรีอินเดีย นเรนทระ โมที โดยมีการเพิ่มพูนข้อตกลงทางการค้า[6]

การเปรียบเทียบ

อินเดีย สาธารณรัฐอินเดีย ไทย ราชอาณาจักรไทย
ตราแผ่นดิน
ธงชาติ อินเดีย ไทย
ประชากร 1,324,171,354 คน 68,863,514 คน
พื้นที่ 3,287,263 ตร.กม. (1,269,219 ตร.ไมล์) 513,120 ตร.กม. (198,120 ตร.ไมล์)
ความหนาแน่น 416.6 คน/ตร.กม. (1,079 คน/ตร.ไมล์) 132.1 คน/ตร.กม. (342.1 คน/ตร.ไมล์)
เมืองหลวง นิวเดลี กรุงเทพมหานคร
เมืองที่ใหญ่ที่สุด มุมไบ​ – 12,478,447 คน (เขตปริมณฑล 18,414,288 คน) กรุงเทพมหานคร – 8,305,218 คน (เขตปริมณฑล 10,624,700 คน)
การปกครอง ประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ประมุขแห่งรัฐ ประธานาธิบดี: เทราปที มุรมู พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
หัวหน้ารัฐบาล นายกรัฐมนตรี: นเรนทระ โมที นายกรัฐมนตรี: ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ภาษาราชการ ภาษาไทย
ศาสนาหลัก
กลุ่มชาติพันธุ์
จีดีพี (ราคาตลาด) 3.050 ล้านล้านดอลลาร์ (ต่อหัว 2,191 ดอลลาร์) 516 พันล้านดอลลาร์ (ต่อหัว 7,607 ดอลลาร์)
ค่าใช้จ่ายทางทหาร 63.9 พันล้านดอลลาร์ 5.69 พันล้านดอลลาร์

อ้างอิง

  1. Ghosh L., Jayadat K. (30 August 2017). "Thai Language and Literature: Glimpses of Indian Influence". India-Thailand Cultural Interactions. Springer. pp. 135–160. doi:10.1007/978-981-10-3854-9_9. ISBN 978-981-10-3854-9.
  2. Solheim, Wilhelm G.; FRANCIS, PETER (2003). "Review of ASIA'S MARITIME BEAD TRADE, 300 B.C. TO THE PRESENT, PETER FRANCIS, JR". Journal of the Malaysian Branch of the Royal Asiatic Society. 76 (2 (285)): 129–132. ISSN 0126-7353. JSTOR 41493507.
  3. Bellina, Bérénice (Jan 2001). "Alkaline Etched Beads East of India in the Late Prehistoric and early historic periods". Bulletin de l'École française d'Extrême-Orient. 88: 191–205. doi:10.3406/befeo.2001.3513.
  4. "Archived copy". www.indiablooms.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 May 2011. สืบค้นเมื่อ 11 January 2022.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  5. "Brief on India - Thailand Relations" (PDF). Ministry of External Affairs, GoI. September 2019.
  6. https://www.thairath.co.th/content/638820

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Cœdès, George (1968). Walter F. Vella (บ.ก.). The Indianized States of Southeast Asia. trans.Susan Brown Cowing. University of Hawaii Press. ISBN 978-0-8248-0368-1.
  • Lokesh, Chandra, & International Academy of Indian Culture. (2000). Society and culture of Southeast Asia: Continuities and changes. New Delhi: International Academy of Indian Culture and Aditya Prakashan.
  • R. C. Majumdar, Study of Sanskrit in South-East Asia
  • R. C. Majumdar, Ancient Indian colonisation in South-East Asia.
  • R. C. Majumdar, Champa, Ancient Indian Colonies in the Far East, Vol.I, Lahore, 1927. ISBN 0-8364-2802-1
  • R. C. Majumdar, Suvarnadvipa, Ancient Indian Colonies in the Far East, Vol.II, Calcutta,
  • R. C. Majumdar, Kambuja Desa Or An Ancient Hindu Colony In Cambodia, Madras, 1944
  • R. C. Majumdar, Hindu Colonies in the Far East, Calcutta, 1944, ISBN 99910-0-001-1
  • R. C. Majumdar, India and South-East Asia, I.S.P.Q.S. History and Archaeology Series Vol. 6, 1979, ISBN 81-7018-046-5.
  • R. C. Majumdar, History of the Hindu Colonization and Hindu Culture in South-East Asia
  • Rejaul Karim Laskar, "India-Thailand Relations", The Assam Tribune, June 23, 2011
  • Daigorō Chihara (1996). Hindu-Buddhist Architecture in Southeast Asia. BRILL. ISBN 90-04-10512-3.