รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 9
หน้าตา
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 9 th | |
---|---|
วันที่ | 4 เมษายน 2543 |
สถานที่ | กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย |
เหตุการณ์สำคัญ | |
ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม | นางนาก |
ได้รางวัลมากที่สุด | นางนาก (7) |
พิธีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2542 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2543 [1]
ผลการตัดสิน
[แก้]- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
- นางนาก ไทเอ็นเตอร์เท็นเมนท์
- รัก โลภ โกรธ หลง สกาย มูฟวี่ ฟิล์ม
- ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม
- นนทรีย์ นิมิบุตร (นางนาก)
- ดารานำฝ่ายชายยอดเยี่ยม
- อำพล ลำพูน (อังยี่ ลูกผู้ชายพันธุ์มังกร)
- เกริกพล มัสยวาณิช (กำแพง)
- เรย์ แมคโดนัลด์ (คนจร ฯลฯ)
- ศรราม เทพพิทักษ์ (แตก 4 รัก โลภ โกรธ เลว)
- อำพล ลำพูน (โคลนนิ่ง คนก๊อปปี้คน)
- ดารานำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม
- ลลิตา ปัญโญภาส (เรื่องตลก 69)
- เก็จมณี พิชัยรณรงค์สงคราม (กำแพง)
- นุชนารถ สายชมพู (ดอกไม้ในทางปืน)
- สิริยากร พุกกะเวส (โคลนนิ่ง คนก๊อปปี้คน)
- อินทิรา เจริญปุระ (นางนาก)
- ดาราประกอบชายยอดเยี่ยม
- วิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์ (ดอกไม้ในทางปืน)
- เจตน์ (คนจร ฯลฯ)
- แบล็ค ผมทอง (เรื่องตลก 69)
- ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ (ฟ้าทะลายโจร)
- อรรถพร ธีมากร (กำแพง)
- ดาราประกอบหญิงยอดเยี่ยม
- ศิริสิน ศิริพรสมาธิกุล (เรื่องตลก 69)
- ธัญญา โสภณ (กำแพง)
- เบญวรรณ เทิดทูนกุล (คนจร ฯลฯ)
- รามาวดี สิริสุขะ (คนจร ฯลฯ)
- สุดา ชื่นบาน (โคลนนิ่ง คนก๊อปปี้คน)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
- เป็นเอก รัตนเรือง (เรื่องตลก 69)
- ถ่ายภาพยอดเยี่ยม
- ณัฐวุฒิ กิตติคุณ (นางนาก)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม
- สุนิตย์ อัศวินิกุล (อั้งยี่ ลูกผู้ชายพันธุ์มังกร)
- บันทึกเสียงยอดเยี่ยม
- กันตนา ฟิล์ม แล๊ป (โคลนนิ่ง คนก๊อปปี้คน)
- เพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
- โดย อาทิตย์ สาระจูฑะ , สราวุธ เลิศปัญญานุช และ เกริกพล มัสยวานิช (กำแพง)
- ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม
- ภควัฒน์ ไววิทยะ และ ชาติชาย พงษ์ประภาพันธ์ (นางนาก)
- กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม
- เอก เอี่ยมชื่น (นางนาก)
- เครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม
- น้ำผึ้ง โมจนกุล (นางนาก)
- แต่งหน้ายอดเยี่ยม
- เบจญวรรณ สร้อยอินทร์ (นางนาก)
- การสร้างภาพพิเศษทางภาพยอดเยี่ยม
- ลำเนาว์ สุดโต (กำแพง)
- ภาพยนตร์สั้นดีเด่นของนักศึกษา
- ธนนท์ สัตตะรุจาวงษ์ จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (โรค-ติด-ต่อ?)
- ภาพยนตร์แอนิเมชันดีเด่นของนักศึกษา
- ฐาปน อินทร์ไทยวงศ์ จาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (โลกร้อยสี)
- ภาพยนตร์สารคดีดีเด่นของนักศึกษา
- ธนนท์ สัตตะรุจาวงษ์ จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ทางเบี่ยง)
- ศิลปินดีเด่นสาขาการต่อต้านยาเสพติด
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ผลการตัดสินรางวัลสุพรรณหงส์ ครั้งที่ 9". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน 2011.