ข้ามไปเนื้อหา

รถไฟใต้ดินไทเป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถไฟใต้ดินไทเป
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อพื้นเมือง臺北捷運[หมายเหตุ 1]
เจ้าของรัฐบาลไทเป
ที่ตั้งไทเปและไทเปใหม่ ประเทศไต้หวัน
ประเภทระบบขนส่งมวลชนเร็ว
รถไฟฟ้าล้อยาง (สายเหวินฮู)
จำนวนสาย6 [a][1]
จำนวนสถานี131[b]
ผู้โดยสารต่อปี595.65 ล้าน (2020)[2]
สำนักงานใหญ่7, Lane 48, Sec. 2, Zhongshan N. Rd., 10448, ไทเป, ประเทศไต้หวัน
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงาน28 มีนาคม ค.ศ. 1996
ผู้ดำเนินงานบริษัทระบบขนส่งมวลชนเร็วไทเป
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง152.9 km (95.0 mi)[1]
จำนวนราง2
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in) สแตนดาร์ดเกจ[c]
รัศมีความโค้ง200 เมตร (656 ฟุต)[d]
การจ่ายไฟฟ้า750 V DC รางที่สาม
ความเร็วเฉลี่ย31.50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (20 ไมล์ต่อชั่วโมง)[e]
ความเร็วสูงสุด90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (56 ไมล์ต่อชั่วโมง)[f]
แผนที่ทางการ

รถไฟใต้ดินไทเป
อักษรจีนตัวเต็ม臺北捷運
อักษรจีนตัวย่อ台北捷运
Taipei Rapid Transit System
อักษรจีนตัวเต็ม臺北大眾捷運系統
อักษรจีนตัวย่อ台北大众捷运系统

รถไฟใต้ดินไทเป หรือ MRT หรือ Taipei Rapid Transit System เป็นระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ในไทเป ประเทศไต้หวัน ก่อสร้างโดย แผนกระบบขนส่งมวลชนเร็ว และดำเนินการโดย บริษัทระบบขนส่งมวลชนเร็วไทเป ระบบมีจำนวนสถานีรถไฟฟ้า 117 สถานี ระยะทาง 131.1 กิโลเมตร ผู้โดยสาร 1.78 คนต่อวัน (ธันวาคม ค.ศ. 2012)[3] นับเป็นระบบขนส่งมวลชนแห่งแรกของประเทศ[4] เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1996 มีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาการจราจรติดขัดในตัวเมือง[5]

เส้นทาง

[แก้]
เส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ สถานีปลายทาง จำนวนสถานี ระยะทาง (กิโลเมตร) ศูนย์ซ่อมบำรุง ภาพ
BR สายสีน้ำตาล
(เหวินหู่)
สายเหนยหู[Note 1] 4 กรกฎาคม 2009 สถานี Nangang Exhibition Center สถานีจงซานกั๋วจง 12 14.8 เหนิ่ยหู
มูจว้า
สายเหวินชาน[Note 1][Note 2] 28 มีนาคม 1996 สถานีจงซานกั๋วจง สถานีไทเปซู 12 10.9
R สายสีแดง
(ตั่นซุ่ยชินยี่)
สายทามซุย 25 ธันวาคม 1997 สถานีตั๋นซุ่ย [Note 3] สถานีเซี่ยงซาน 21 23.2 เป่ยโถว
สายย่อยซินเป่ย์ตู 25 ธันวาคม 1997 สถานีเป่ยโถว สถานีซินเป่ยโถว 1 1.2
O สายสีส้ม
(ขงเห้อชินลู่)
สายจงฮี 25 ธันวาคม 1998 สถานีนานซื่อจ้าว สถานีกู่ถิง 5 5.4 จงเห้อ
หลู่โจว
สายซินจวง[Note 4] 5 มกราคม 2012 สถานี Fu Jen University สถานีต้าเซี่ยวโถว 7 8.2
30 กันยายน 2012 สถานีจงเซี่ยวชิงเชิน สถานีกู่ถิง 1 2.6
29 มิถุนายน 2013 สถานี Fu Jen University สถานีหู่ยหลง 2 2.6
3 พฤศจิกายน 2010 สถานีจงเซี่ยวชิงเชิง สถานีต้าเซี่ยวโถว 6 5.2
สายลูโจว[Note 4] สถานีต้าเซี่ยวโถว สถานีหลู่โจว 5 6.4
G สายสีเขียว
(ซงซานซินเตี่ยน)
สายเซียวหนานเหมิน 31 สิงหาคม 2000 สถานีซีเหมิน สถานีซงเจินจี่เหนี่ยงถาง 1 1.6 ซินเตี่ยน
สายซินเตี้ยน 11 พฤศจิกายน 1999 สถานีซงเจินจี่เหนียนถาง สถานีซินเตี่ยน 9 9.3
สายย่อยเซียวปี่ตัน 29 กันยายน 2004 สถานีชีจาง สถานีเซี่ยวปี่ถาน 1 1.9
BL สายสีน้ำเงิน
(ป่านนาน)
สายนันกัง (2)[6] 25 ธันวาคม 2008
27 กุมภาพันธ์ 2011
สถานี Taipei Nangang
Exhibition Center
สถานีคุณหยาง 2 2.5 นันกัง

ตูเฉิง

สายนันกัง[Note 5]
สายป่านเกียว[Note 5]
29 ธันวาคม 2000 สถานีคุณหยาง สถานีTaipei City Hall 3 2.8
24 ธันวาคม 1999 สถานีTaipei City Hall สถานีวัดหลงซาน 9 7.5
31 สิงหาคม 2000 สถานีวัดหลงซาน สถานีซินปู 2 3.6
สายป่านเกียว[Note 5]
สายตูเฉิง[6]
31 พฤษภาคม 2006 สถานีซินปู สถานีดิ่งผู่ 6 5.5
Y สายสีเหลือง
(สายวงกลม)
วงกลมใต้ 19 มกราคม 2020 สถานี Taipei Industrial Park สถานีต้าปิงลิ่น 14 15.4 เซาท์
  1. 1.0 1.1 Neihu and Wenshan Line are collectively called Wenshan-Neihu Line or Wenhu Line since October 8, 2009.
  2. Wenshan Line was previously known as Muzha Line.
  3. Tamsui was previously known as Danshui.
  4. 4.0 4.1 Xinzhuang and Luzhou Line are collectively called Xinlu Line since January 5, 2012.
  5. 5.0 5.1 5.2 Banqiao and Nangang Line are collectively called Bannan Line and become official name since 2009.

ค่าโดยสาร

[แก้]
เหรียญโดยสารเที่ยวเดียว
ระยะทาง
(กิโลเมตร)
≤5 5~8 8~11 11~14 14~17 17~20 20~23 23~27 27~31 ≥31
ค่าโดยสาร
(NT$)
20 25 30 35 40 45 50 55 60 65
ค่าโดยสารพร้อมบัตร EasyCard 16 20 24 28 32 36 40 44 48 52

รถไฟฟ้า

[แก้]
รุ่น ปีที่ผลิต ผู้ผลิต ความยาว/กว้าง/สูง จำนวนที่นั่ง จุคนได้ ความเร็วสูงสุด จำนวนคัน หมายเลขรถ เส้นทาง จำนวนคันต่อขบวน ภาพ
VAL256 / 350 1990~1993 Matra และ GEC Alsthom 13.78 m/
2.56 m/
3.53 m
24 114 80
km/h
102 01~51 สาย Wenhu 2 คันต่อขบวน
Innovia 256 / 370 2006~2007 Bombardier 13.78 m/
2.54 m/
3.53 m
20 142 80
km/h
202 101~201 สาย Wenhu 2 คันต่อขบวน
EMU301 1992~1994 URC
(Subsidiary
of Kawasaki)
23.5 m/
3.2 m/
3.6 m
60 368 90
km/h
132 001/002~043/044 สาย Tamsui
สาย Xindian
3 คันต่อขบวน[7]
321 1998~1999 ซีเมนส์ 23.5 m/
3.2 m/
3.6 m
60 368 90
km/h
216 101/102~171/172 สาย Bannan Line 3 คันต่อขบวน[8]
341 2003 ซีเมนส์ 23.5 m/
3.2 m/
3.6 m
60 368 90
km/h
36 201/202~211/212 สาย Bannan 3 คันต่อขบวน[9]
371 2005~2009 Kawasaki และ TRSC 23.5 m/
3.2 m/
3.6 m
60 368 90
km/h
321 301/302~337/338 (1st batch)
401/402~465/466 (2nd batch)
397~399 (for branch lines only)
สาย Tamsui
สาย Xindian
สาย Xiaonanmen Line
สาย Zhonghe-Xinlu
สายย่อย Xinbeitou
สายย่อย Xiaobitan
3 คันต่อขบวน[10]
381 2010~2012 Kawasaki และ TRSC 23.5 m/
3.2 m/
3.6 m
60 368 90
km/h
138 501/502~547/550 สาย Tamsui 3 คันต่อขบวน[11]
HRI EMU 2018~2020 Hitachi Railway Italy 80
km/h
1XX สายวงกลม 4 ตู้ต่อขบวน

ศูนย์ซ่อมบำรุง

[แก้]
ศูนย์ซ่อมบำรุง ปีที่เปิดใช้งาน สถานที่ รถไฟฟ้า เส้นทาง ภาพ
Muzha 1996 Wenshan VAL256 สาย Wenshan
Beitou 1997 Beitou Kawasaki C301, C371, C381 สาย Tamsui
สายย่อย Xinbeitou
Zhonghe 1998 Zhonghe Kawasaki C371 สาย Zhonghe
Xindian 1999 Xindian Kawasaki C301, C371
ซีเมนส์ C321, C341
สาย Xindian
สายย่อย Xiaobitan
Nangang 2000 Nangang ซีเมนส์ C321, C341 สาย Nangang
Tucheng 2006 Tucheng ซีเมนส์ C321, C341 สาย Tucheng
Neihu 2009 Nangang Innovia 256 สาย Neihu Line
Luzhou 2010 Luzhou Kawasaki C371 สาย Luzhou Line

โครงการในอนาคต

[แก้]
แผนที่โครงข่ายเส้นทางรถไฟใต้ดินไทเป เมื่อสร้างเสร็จครบทุกเส้นทาง

เส้นทางที่กำลังก่อสร้าง

[แก้]

นี่คือเส้นทางที่กำลังก่อสร้าง[6][12][13][14]

เส้นทาง วันที่กำหนดเปิดให้บริการ สถานีปลายทาง จำนวนสถานี ระยะทาง (กิโลเมตร) ศูนย์ซ่อมบำรุง
Taoyuan Airport MRT 2015 Sanchong Huanbei 22 51.03 Luzhu
สายสีแดง สาย Xinyi ปลายปี 2013[15] CKS Memorial Hall Xiangshan 7 6.4 Beitou
สายสีน้ำเงิน สาย Tucheng ธันวาคม 2013 Yongning Dingpu 1 2.0 Tucheng
สายสีเขียว สาย Songshan 2014 Songshan Ximen 8 8.5 Xindian
Taoyuan Airport MRT ตุลาคม 2014 Taipei Main Station Sanchong 0 4[16] Luzhu
สายสีแดง สาย Xinyi Eastern ส่วนต่อขยาย ธันวาคม 2017 Xiangshan Zhongpo 2 1.6 Beitou
สายสีเขียวอ่อน สาย Wanda-Zhonghe-Shulin ธันวาคม 2018 CKS Memorial Hall Zhonghe Senior
High School
9 8.8

เส้นทางโครงการ

[แก้]

รายชื่อเส้นทางโครงการ[17]

เส้นทาง สถานีปลายทาง จำนวนสถานี ระยะทาง (กิโลเมตร) ศูนย์ซ่อมบำรุง
สาย Wanda-Zhonghe-Shulin Zhonghe Senior
High School
Huilong 13 13.3
สาย Minsheng-Xizhi Dadaocheng Xizhi 15 17.52 Xizhi
สายสีเหลือง สายวงกลมเหนือ Jiannan Road Business Exhibition Center 11 14.3 East
สายวงกลมใต้ Dapinglin สวนสัตว์ไทเป 6 5.6
สาย Ankeng Shisizhang Erbazi Botanical Garden 10 7.8 Erbazi
สายรางเบา Sanying Dingpu Pade 14 18.6
สายรางเบา Shezi, Shilin, Beitou Shezi Tianmu 11 8.8
Beitou Daqiaotou 10 9.1
สายเหนือ-ใต้ Jiannan Road Xiulang Bridge 16 17.1
สายรางเบา Shenkeng สวนสัตว์ไทเป Shiding Service Area 6 7.8

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. Two branch lines, sometimes grouped together with the main lines, are not counted separately
  2. [1] The number of stations is 131 if the 12 interchange stations (i.e. different sets of platforms) are counted multiple times, once for each line, while it's 119 if they're combined. Out-of-station transfers at Banqiao and XinpuXinpu Minsheng, which require leaving paid area, are counted as 2 stations each; transfer stations that provide cross-platform interchange are anyway counted as a single stations.
  3. สายเหวินฮู: 1,880 mm (6 ft 2 in) broad gauge
  4. สายเหวินฮู: 33 เมตร (108 ฟุต)
  5. สายเหวินฮู: 32.84 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (20 ไมล์ต่อชั่วโมง)
  6. สายเหวินฮู: 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (50 ไมล์ต่อชั่วโมง)

คำในภาษาพื้นเมือง

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 "Network and Systems". Taipei Rapid Transit Corporation. 2020-01-19. สืบค้นเมื่อ 2020-01-22.
  2. Taipei Rapid Transit Corporation. 2018 Annual Report (PDF) (Report). สืบค้นเมื่อ 2020-01-22.
  3. "Transport Volume Statistics". Taipei Rapid Transit Corporation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-10-15.
  4. "Taipei Subway Ranks as one of the Best". Wired. October 15, 2007. สืบค้นเมื่อ 2010-03-13.
  5. "Traffic nightmares plague Taipei". The China Post. September 20, 2001. สืบค้นเมื่อ 2010-06-30.
  6. 6.0 6.1 6.2 "Second Stage of Taipei MRT (Approved MRT Routes)". Department of Rapid Transit Systems, TCG. March 12, 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-27. สืบค้นเมื่อ 2010-04-21.
  7. 2 301 sets per train in revenue service, not mixable with other car types.
  8. 2 C321 sets per train in revenue service, not mixable with other car types.
  9. 2 C341 sets per train in revenue service, not mixable with other car types.
  10. 2 371 sets per train in revenue service except Sets 397-399, which run as single sets. Not mixable with other car types
  11. 2 381 sets per train in revenue service, not mixable with other car types.
  12. "臺北捷運 Taipei MRT" (PDF). September 2010. p. 14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 4 October 2010.
  13. "捷運白皮書" (ภาษาจีน). Department of Rapid Transit Systems. December 23, 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-03. สืบค้นเมื่อ 2011-01-08.
  14. "新莊線施工現況". Department of Rapid Transit Systems. June 17, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-18. สืบค้นเมื่อ 2011-06-18.
  15. "Mayor: MRT Xinyi Line to Open by End of 2013". 2013-04-22. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-29. สืบค้นเมื่อ 2013-09-19.
  16. "Taipei Taoyuan International Airport Access MRT System" (PDF). Department of Rapid Transit Systems, TCG. September 1, 2008. สืบค้นเมื่อ 2011-01-07.[ลิงก์เสีย]
  17. "Third Stage of Taipei MRT (Planned MRT Routes)". Department of Rapid Transit Systems, TCG. March 12, 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-15. สืบค้นเมื่อ 2010-04-21.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]