เจลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2017

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เมะอิจิ ยะสุดะ เจ1 ลีก
ฤดูกาล2017
ทีมชนะเลิศคาวาซากิ ฟรอนตาเล (สมัยที่ 1)
ตกชั้นเวนท์ฟอเรท โคฟุ
อัลบิเร็กซ์ นีงะตะ
โอมิยะ อาร์ดิยา
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกคาวาซากิ ฟรอนตาเล
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส
เซเรซโซ โอซะกะ
จำนวนนัด306
จำนวนประตู793 (2.59 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดยุ โคะบะยะชิ (คาวาซากิ ฟรอนตาเล) (23 ประตู)[1]
จำนวนผู้ชมสูงสุด57,447 คน[2]
อุระวะ 0-1 คะชิมะ
(4 พฤษภาคม 2560)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด4,692 คน[2]
โคฟุ 2-3 โคเบะ
(29 ตุลาคม 2560)
จำนวนผู้ชมรวม5,778,178 คน[2]
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย18,883 คน[2]
2016
2018

การแข่งขันฟุตบอล เจลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2017 (หรือเป็นที่รู้จักในนาม เมะอิจิ ยะสุดะ เจ1 ลีก สำหรับเหตุผลด้านผู้สนับสนุน) เป็นฤดูกาลที่ 25 ของ เจลีก ดิวิชัน 1, ลีกอาชีพสูงสูดของญี่ปุ่นนับตั้งแต่การก่อตั้งในปี ค.ศ. 1993 ฤดูกาลนี้เริ่มต้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560 และโปรแกรมการแข่งขันจะสิ้นสุดลงในวันที่ 2 ธันวาคม. โปรแกรมการแข่งขันสำหรับฤดูกาล 2017 จะประกาศไปเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2560.[3]

คะชิมะ แอนท์เลอร์ส คือทีมแชมป์เก่า คอนซาโดเล ซัปโปะโระ, ชิมิซุ เอส-พัลส์ และ เซเรซโซ โอซะกะ ได้ผ่านในฐานะทีมที่เลื่อนชั้นสามทีมที่มาจาก เจลีก ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 2016

สโมสร[แก้]

ทั้งหมด 18 สโมสรที่ได้เข้าร่วมลีก, ประกอบไปด้วย 15 สโมสรที่มาจาก ฤดูกาล 2016 และสามทีมเลื่อนชั้นจาก เจลีก ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 2016. นี่เป็นการประกอบไปด้วยสองทีมที่ดีที่สุด; คอนซาโดเล ซัปโปะโระ และ ชิมิซุ เอส-พัลส์ จาก เจลีก ดิวิชัน 2, และทีมชนะเลิศของการเพลย์ออฟ; เซเรซโซ โอซะกะ.

สามสโมสรที่ได้เลื่อนชั้นแทนที่ นะโงะยะ แกรมปัส, โชนัน เบลล์มาเร และ อาวิสปา ฟุกุโอะกะ. แชมป์เก่า เจลีก ดิวิชัน 1 นะโงะยะ แกรมปัส ได้ตกชั้นสู่เจลีก ดิวิชัน 2 เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของพวกเขา.

สนามเหย้าและที่ตั้ง[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนาม ความจุ
อัลบิเร็กซ์ นีงะตะ นีงะตะ และ เซะอิโระ เดงกะบิ๊กสวานสเตเดียม 42,300
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส เมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของ จังหวัดอิบะระกิ[a] สนามฟุตบอลคะชิมะ 40,728
โอมิยะ อาร์ดิยา ไซตะมะ สนามกีฬาเอ็นเคซีเคเอส 15,500
เซเรซโซ โอซะกะ โอซะกะ และ ซะกะอิ สนามกีฬายันมาร์ นะงะอิ 47,816
คอนซาโดเล ซัปโปะโระ ออล ฮกไกโด[b] ซัปโปะโระ โดม 41,484
โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส โยะโกะฮะมะ และ โยะโกะซุกะ นิสสันสเตเดียม 72,327
คาวาซากิ ฟรอนตาเล คาวาซากิ สนามกีฬาโทโดโรกิแอธเลติก 26,232
กัมบะ โอซะกะ เมืองทางตอนเหนือของ จังหวัดโอซะกะ[c] สนามฟุตบอลซุอิตะซิตี 39,694
จูบิโล อิวะตะ อิวะตะ สนามกีฬายามาฮา 15,165
อุระวะ เรด ไดมอนด์ส ไซตะมะ สนามกีฬาไซตะมะ 63,700
คะชิวะ เรย์โซล คะชิวะ สนามกีฬาฟุตบอลคะชิวะ 15,900
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ชิซุโอะกะ สนามฟุตบอลไอเอไอ นิฮนดะอิระ 20,339
ซะงัน โทะสุ โทะซุ เบสต์อเมนิตี้สเตเดียม 24,490
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ ฮิโระชิมะ เอดีอนสเตเดียม ฮิโระชิมะ 50,000
เอฟซี โตเกียว โตเกียว อะยิโนะโมะโตะ สเตเดียม 49,970
เวลกัลตะ เซนได เซนได เซนไดสเตเดียม 19,694
เวนท์ฟอเรท โคฟุ ทุกเมืองใน จังหวัดยะมะนะชิ[d] สนามกีฬายะมะนะชิชูโอแบงค์ 17,000
วิสเซล โคเบะ โคเบะ โฮมส์สเตเดียม โคเบะ 30,132

ข้อมูลสโมสรและชุดแข่งขัน[แก้]

สโมสร ผู้จัดการทีม กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
อัลบิเร็กซ์ นีงะตะ ญี่ปุ่น วักเนอร์ โลเปส ญี่ปุ่น คะซุนะริ โอโนะ อาดิดาส
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส ญี่ปุ่น โกะ โออิวะ ญี่ปุ่น มิตสุโอะ โอกะซะวะระ ไนกี้
โอมิยะ อาร์ดิยา ญี่ปุ่น อะคิระ อิโตะ ญี่ปุ่น โคสุเกะ คิคุชิ อันเดอร์อาร์เมอร์
เซเรซโซ โอซะกะ เกาหลีใต้ ยูน จุง-ฮวาน ญี่ปุ่น โยอิชิโระ คะคิตะนิ พูมา
คอนซาโดเล ซัปโปะโระ ญี่ปุ่น ซุเฮอิ โยโมะดะ ญี่ปุ่น ฮิโระกิ มิยะซะวะ คัปปา
โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส ฝรั่งเศส อีริค มมบาแอร์ตส์ ญี่ปุ่น มะนะบุ ซาอิโตะ[4] อาดิดาส
คาวาซากิ ฟรอนตาเล ญี่ปุ่น โทรุ โอนิกิ ญี่ปุ่น เคนโกะ นะกะมุระ พูมา
กัมบะ โอซะกะ ญี่ปุ่น เคนตะ ฮะเซะกะวะ ญี่ปุ่น ยะสุฮิโตะ เอ็นโดะ อัมโบร
จูบิโล อิวะตะ ญี่ปุ่น ฮิโรชิ นะนะมิ ญี่ปุ่น โคตะ อุเอะดะ พูมา
อุระวะ เรด ไดมอนด์ส ญี่ปุ่น ทะคะฟุมิ โฮริ ญี่ปุ่น ยุกิ อาเบะ ไนกี้
คะชิวะ เรย์โซล ญี่ปุ่น ทะคะฮิโระ ชิโมตะอิระ ญี่ปุ่น ฮิเดะคะซุ โอตะนิ โยเน็กซ์
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ญี่ปุ่น ชินจิ โคบะยะชิ เกาหลีเหนือ จ็อง แท-เซ พูมา
ซะงัน โทะสุ อิตาลี มัสซิโม ฟิกกาเดนติ ญี่ปุ่น โยเฮอิ โทโยะดะ นิวบาลานซ์
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ สวีเดน แจน ทอนส์สัน ญี่ปุ่น โทชิฮิโระ อะโอะยะมะ ไนกี้
เอฟซี โตเกียว ญี่ปุ่น โยชิยุกิ ชิโนะดะ ญี่ปุ่น มะซะโตะ โมริชิเกะ อัมโบร
เวลกัลตะ เซนได ญี่ปุ่น ซุซุมุ วะตะนะเบะ ญี่ปุ่น ชินโกะ โทมิตะ อาดิดาส
เวนท์ฟอเรท โคฟุ ญี่ปุ่น ทัตสุมะ โยชิดะ ญี่ปุ่น ฮิเดโอะมิ ยะมะโมะโตะ มิซุโนะ
วิสเซล โคเบะ บราซิล เนลซินญู บัปติสตา ญี่ปุ่น คะซุมะ วะตะนะเบะ เอสิกส์

เปลี่ยนผู้จัดการทีม[แก้]

ทีม ผู้จัดการคนก่อน เหตุที่ออก วันที่ อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการคนใหม่ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
อัลบิเร็กซ์ นีงะตะ ญี่ปุ่น ฟุมิตะเกะ มิอุระ ลาออก 7 พฤษภาคม 2560[5] อันดับที่ 17 ญี่ปุ่น วักเนอร์ โลเปส 11 พฤษภาคม 2560[5]
โอมิยะ อาร์ดิยา ญี่ปุ่น ฮิโระกิ ชิิบุยะ ถูกไล่ออก 28 พฤษภาคม 2560[6] อันดับที่ 18 ญี่ปุ่น อะคิระ อิโตะ 28 พฤษภาคม 2560[6]
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส ญี่ปุ่น มะซะทะดะ อิชิอิ ถูกไล่ออก 31 พฤษภาคม 2560[7] อันดับที่ 7 ญี่ปุ่น โกะ โออิวะ 31 พฤษภาคม 2560[7]
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ ญี่ปุ่น ฮะจิเมะ โมริยะสุ ลาออก 4 กรกฎาคม 2560[8] อันดับที่ 17 สวีเดน แจน จอนส์สัน 10 กรกฎาคม 2560[8]
อุระวะ เรด ไดมอนด์ส เซอร์เบีย มิไฮลอ เปตรอวิช ถูกไล่ออก 31 กรกฎาคม 2560[9] อันดับที่ 17 ญี่ปุ่น ทะคะฟุมิ โฮริ 31 พฤษภาคม 2560[9]

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 คะวะซะกิ ฟรอนตาเล (C, Q) 34 21 9 4 71 32 +39 72 แชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม
2 คะชิมะแอนต์เลอส์ (Q) 34 23 3 8 53 31 +22 72
3 เซเรซโซ โอซะกะ (Q) 34 19 6 9 65 43 +22 63 แชมเปียนส์ลีก รอบเพลย์ออฟ
4 คะชิวะ เรย์โซล 34 18 8 8 49 33 +16 62
5 โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส 34 17 8 9 45 36 +9 59
6 จูบิโล อิวะตะ 34 16 10 8 50 30 +20 58
7 อุระวะ เรดไดมอนส์ 34 14 7 13 64 54 +10 49
8 ซะงัน โทะสุ 34 13 8 13 41 44 −3 47
9 วิสเซล โคเบะ 34 13 5 16 40 45 −5 44
10 กัมบะ โอซะกะ 34 11 10 13 48 41 +7 43
11 คอนซาโดเล ซัปโปะโระ 34 12 7 15 39 47 −8 43
12 เวกัลตะ เซนได 34 11 8 15 44 53 −9 41
13 เอฟซี โตเกียว 34 10 10 14 37 42 −5 40
14 ชิมิซุ เอส-พัลส์ 34 8 10 16 36 54 −18 34
15 ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ 34 8 9 17 32 49 −17 33
16 เวนท์ฟอเรท โคฟุ (R) 34 7 11 16 23 39 −16 32 ตกชั้นสู่ เจลีก ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 2018
17 อัลบิเร็กซ์ นีงะตะ (R) 34 7 7 20 28 60 −32 28
18 โอมิยะ อาร์ดิยา (R) 34 5 10 19 28 60 −32 25
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : เมะอิจิ ยะสุดะ เจ1 ลีก
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้
(C) ชนะเลิศ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น.


ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า / เยือน ALB ANT ARD CER CON FMA FRO GAM JUB RED REY SAG SFR SSP TOK VEG VEN VIS
อัลบิเร็กซ์ นีงะตะ 2–4 1–2 1–0 1–0 0–2 0–2 2–3 0–2 1–6 0–1 1–0 0–0 0–2 0–3 1–2 1–0 0–2
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส 2–0 1–0 0–1 3–0 1–0 0–3 2–1 0–3 1–0 0–0 2–1 2–0 2–0 0–1 2–0 3–0 1–2
โอมิยะ อาร์ดิยา 1–0 0–1 0–3 2–2 1–2 0–2 2–2 1–2 1–0 1–1 1–1 1–1 0–0 1–2 2–1 0–0 0–2
เซเรซโซ โอซะกะ 4–0 0–1 2–1 3–1 2–0 2–0 2–2 0–0 4–2 2–1 1–0 5–2 1–1 3–1 1–4 2–0 3–1
คอนซาโดเล ซัปโปะโระ 2–2 1–2 1–0 1–1 0–2 1–1 0–2 2–1 2–0 3–0 3–2 2–1 1–0 2–1 1–0 1–1 1–2
โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส 1–1 3–2 1–1 1–4 3–0 2–0 0–1 2–1 3–2 1–1 1–0 1–1 2–2 1–0 1–1 1–0 2–0
คาวาซากิ ฟรอนตาเล 3–0 3–1 5–0 5–1 2–1 3–0 1–0 2–5 4–1 2–1 1–1 1–0 2–2 1–1 3–2 1–1 5–0
กัมบะ โอซะกะ 0–1 0–1 6–0 3–1 0–1 1–2 1–1 0–2 1–1 0–1 3–0 0–1 1–1 3–0 1–1 1–1 1–2
จูบิโล อิวะตะ 2–2 0–0 2–1 1–1 2–2 2–1 0–2 3–0 1–1 0–2 2–1 2–3 3–1 2–0 0–1 1–0 2–1
อุระวะ เรด ไดมอนด์ส 2–1 0–1 2–2 3–1 3–2 0–1 0–1 3–3 2–4 1–2 2–2 4–3 3–3 2–1 7–0 4–1 1–1
คะชิวะ เรย์โซล 1–1 2–3 4–2 1–0 2–1 2–0 2–2 1–3 1–0 1–0 0–0 1–0 0–2 4–1 0–1 0–1 3–1
ซะงัน โทะสุ 3–0 1–0 3–0 1–2 1–0 1–0 2–3 1–3 0–2 2–1 1–3 1–0 2–1 2–1 1–1 2–1 1–0
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ 1–1 1–3 0–3 1–0 1–1 0–1 0–3 2–2 0–0 0–1 0–2 0–1 0–1 2–1 3–3 1–0 1–1
ชิมิซุ เอส-พัลส์ 2–3 2–3 1–1 3–2 0–2 1–3 0–3 2–0 0–3 1–2 1–4 1–1 1–3 0–2 0–3 1–0 0–1
เอฟซี โตเกียว 1–1 2–2 2–0 1–4 1–2 0–1 3–0 0–0 0–0 0–1 1–2 3–3 1–0 0–0 1–0 1–1 1–0
เวกัลตะ เซนได 2–1 1–4 3–0 2–4 1–0 2–2 0–2 2–3 0–0 2–3 1–1 4–1 1–0 0–0 0–2 3–0 0–2
เวนท์ฟอเรท โคฟุ 0–2 0–1 1–0 1–1 2–0 3–2 2–2 1–0 0–0 0–1 0–0 0–0 1–2 0–1 1–1 1–0 2–3
วิสเซล โคเบะ 2–1 1–2 3–1 1–2 2–0 0–0 0–0 0–1 1–0 1–3 1–2 1–2 1–2 1–3 1–1 3–0 0–1
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2560. ที่มา: เมะอิจิ ยะสุดะ เจ1 ลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติตลอดฤดูกาล[แก้]

ดาวซัลโว[แก้]

แมตช์ที่ลงเล่นเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.

อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 ญี่ปุ่น เคนยุ ซุกิโมะโตะ เซเรซโซ โอซะกะ 22
2 ญี่ปุ่น ชินโซะ โกะโระกิ อุระวะ เรด ไดมอนด์ส 20
3 ญี่ปุ่น ยุ โคะบะยะชิ คาวาซากิ ฟรอนตาเล 19
4 ญี่ปุ่น เคนโกะ คะวะมะตะ จูบิโล อิวะตะ 14
5 ญี่ปุ่น มุ คะนะซะกิ คะชิมะ แอนท์เลอร์ส 12
บราซิล ราฟาเอล ซิลวา อุระวะ เรด ไดมอนด์ส
บราซิล กริสเตียนู คะชิวะ เรย์โซล
8 บราซิล เลอันดรู คะชิมะ แอนท์เลอร์ส 11
9 ญี่ปุ่น นาโอะกิ อิชิฮะระ เวกัลตะ เซนได 10
โปรตุเกส ฮูโก วีเอยรา โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส
ญี่ปุ่น ชุน นะกะซะวะ กัมบะ โอซะกะ
บราซิล อังแดร์ซง โลปึส ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ

การผ่านบอล[แก้]

แมตช์ที่ลงเล่นเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.

อันดับ ผู้เล่น สโมสร การผ่านบอล
1 ญี่ปุ่น เคนโกะ นะกะมุระ คาวาซากิ ฟรอนตาเล 11
2 บราซิล กริสเตียนู คะชิวะ เรย์โซล 10
ญี่ปุ่น ยุสุเกะ มะรุฮะชิ เซเรซโซ โอซะกะ
4 ญี่ปุ่น โยสุเกะ คะชิวะกิ อุระวะ เรด ไดมอนด์ส 9
ญี่ปุ่น ชินทะโระ คุรุมะยะ คาวาซากิ ฟรอนตาเล
ญี่ปุ่น โคตะ มิซุนุมะ เซเรซโซ โอซะกะ
ญี่ปุ่น โคสุเกะ โอตะ เอฟซี โตเกียว
8 ญี่ปุ่น ยู โคบะยะชิ คาวาซากิ ฟรอนตาเล 8
ญี่ปุ่น ชุนสุเกะ นะกะมุระ จูบิโล อิวะตะ
ญี่ปุ่น มะนะบุ ซาอิโตะ โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส

แฮต-ทริคส์[แก้]

นักเตะ สโมสร ทำได้ในนัดที่พบกับ ผล วันที่
ญี่ปุ่น ชินโซะ โกะโระกิ อุระวะ เรด ไดมอนด์ส เวกัลตะ เซนได 7–0 (H) 7 เมษายน 2560
ญี่ปุ่น ชินโซะ โกะโระกิ อุระวะ เรด ไดมอนด์ส ชิมิซุ เอส-พัลส์ 3–3 (H) 20 พฤษภาคม 2560
บราซิล เลอันดรู คะชิมะ แอนท์เลอร์ส อัลบิเร็กซ์ นีงะตะ 4–2 (A) 16 กันยายน 2560
หมายเหตุ

(H) – เหย้า ; (A) – เยือน

อ้างอิง[แก้]

  1. "STATS:J. LEAGUE.JP". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2017-08-26.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "2017J1 LEAGUE Attendance". J. League. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-25. สืบค้นเมื่อ 6 May 2017.
  3. "2017 J.League schedule announced". J. League. 26 มกราคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  4. http://www.jleague.jp/en/news/article/8523
  5. 5.0 5.1 "Albirex manager Miura to be replaced by Wagner Lopes:J. LEAGUE.JP". J. LEAGUE.JP JAPAN PROFESSIONAL FOOTBALL LEAGUE (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-05-28.
  6. 6.0 6.1 "Ardija release struggling Shibuya:J. LEAGUE.JP". J. LEAGUE.JP JAPAN PROFESSIONAL FOOTBALL LEAGUE (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-05-30.
  7. 7.0 7.1 "Antlers fire manager Ishii". The Japan Times Online (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2017-05-31. ISSN 0447-5763. สืบค้นเมื่อ 2017-06-03.
  8. 8.0 8.1 "Former J.Leaguer Jonsson becomes Sanfrecce's new manager:J. LEAGUE.JP". J. LEAGUE.JP JAPAN PROFESSIONAL FOOTBALL LEAGUE (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-07-11.
  9. 9.0 9.1 "Reds fire Petrovic as Hori takes over:J. LEAGUE.JP". J. LEAGUE.JP JAPAN PROFESSIONAL FOOTBALL LEAGUE (ภาษาอังกฤษ). 2017-07-31. สืบค้นเมื่อ 2017-07-31.