ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มอาการคุชิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
Chainwit. ย้ายหน้า กลุ่มอาการคุชชิง ไปยัง กลุ่มอาการคุชิง: According to https://dictionary.cambridge.org/pronunciation/english/cushing-s-syndrome
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox medical condition (new)
{{กล่องข้อมูล โรค
| name = กลุ่มอาการคุชิง
| Name = กลุ่มอาการคุชชิง<br /><small> (Cushing's syndrome) </small>
| synonyms = ภาวะฮอร์โมนคอร์ติซอลสูง, Itsenko-Cushing syndrome, ภาวะอะดรีโนคอร์ติซอลสูง
| Image =
| image = CushingsFace.jpg
| Caption =
| caption = อาการ[[Moon face|ใบหน้ากลม]]ในผู้ป่วยที่ได้รับยา[[fluticasone propionate|ฟลูทิคาโซน]]ชนิดสูดดมเป็นเวลาสามเดือน<ref name=Cel2012>{{cite journal | vauthors = Celik O, Niyazoglu M, Soylu H, Kadioglu P | title = Iatrogenic Cushing's syndrome with inhaled steroid plus antidepressant drugs | journal = Multidisciplinary Respiratory Medicine | volume = 7 | issue = 1 | pages = 26 | date = August 2012 | pmid = 22958272 | pmc = 3436715 | doi = 10.1186/2049-6958-7-26 }}</ref>
| DiseasesDB =
| field = [[วิทยาต่อมไร้ท่อ]]
| ICD10 = {{ICD10|E|24||e|20}}
| symptoms = [[ความดันเลือดสูง]], [[abdominal obesity|อ้วนลงพุง]]ส่วนแขนขาลีว, [[stretch mark|รอยแตก]]สีแพง, [[moon facies|หน้ากลม]], [[Lipodystrophy|ก้อนไขมันระหว่างไหล่]], [[กล้ามเนื้ออ่อนแรง]], [[สิว]], ผิวแตกง่ายอ่อนแอ<ref name=NIH2012Sym/>
| ICD9 = {{ICD9|255.0}}
| ICDO =
| complications =
| onset = 20–50 ปี<ref name=NIH2008/>
| OMIM =
| duration =
| MedlinePlus = 000410
| causes = มี[[คอร์ติซอล]]ในร่างกายเป็นระยะเวลานาน<ref name=NIH2008/>
| eMedicineSubj = article
| risks =
| eMedicineTopic = 117365
| diagnosis = มีขั้นตอนระบุเฉพาะ<ref name=NIH2012Diag/>
| MeshID = D003480
| differential =
| prevention =
| treatment = ตามสาเหตุเกิดโรค<ref name=NIH2012Tx2/>
| medication =
| prognosis = โดยทั่วไป อาการดีขึ้นหากได้รับการรักษา<ref name=NIH2012Tx/>
| frequency = 2–3 ในล้านคนต่อปี<ref name=NIH2012Epi/>
| deaths =
}}
}}
'''กลุ่มอาการคุชชิง''' ({{Lang-en|Cushing's syndrome}}) บางครั้งเรียก hyperadrenocorticism หรือ hypercorticism เป็นความผิดปกติของ[[ระบบต่อมไร้ท่อ]]ที่ทำให้มีระดับฮอร์โมน[[คอร์ติซอล]]ในเลือดสูง (hypercortisolism) อาจเกิดจากการได้รับยา[[เสตียรอยด์]] หรือจากเนื้องอกที่หลั่งคอร์ติซอลหรือ[[adrenocorticotropic hormone|ฮอร์โมน adrenocorticotropic]] (ACTH) โรคหนึ่งเรียกว่า[[โรคคุชชิงที่ขึ้นกับต่อมใต้สมอง|โรคคุชชิง]]เป็นสาเหตุหนึ่งของกลุ่มอาการนี้ เกิดจากการมีเนื้องอก ([[อะดีโนมา]]) ที่[[ต่อมใต้สมอง]] แล้วหลั่งฮอร์โมน ACTH ปริมาณมากออกมาทำให้มีการสร้างคอร์ติซอลมาก เฉพาะโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด โรคนี้ได้รับการอธิบายโดยนายแพทย์[[ฮาร์วีย์ คุชชิง]] ในปี ค.ศ. 1932<ref>{{cite journal |author=Cushing HW. |title=The basophil adenomas of the pituitary body and their clinical manifestations (pituitary basophilism). |journal=Bull Johns Hopkins Hosp |volume=50 |issue= |pages=137–95 |year=1932}}</ref>


'''กลุ่มอาการคุชิง''' ({{lang-en|Cushing's syndrome}}) เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะมี[[glucocorticoids|กลูโคคอร์ติคอยด์]] เช่น [[คอร์ติซอล]] ในร่างกายเป็นเวลานาน<ref name=NIH2008>{{cite web|title=Cushing's Syndrome|url=http://endocrine.niddk.nih.gov/pubs/cushings/cushings.aspx#1|publisher=National Endocrine and Metabolic Diseases Information Service (NEMDIS)|access-date=16 March 2015|date=July 2008|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20150210104139/http://endocrine.niddk.nih.gov/pubs/cushings/cushings.aspx#1|archive-date=10 February 2015}}</ref><ref>{{cite book|last1=Forbis|first1=Pat|title=Stedman's medical eponyms|date=2005|publisher=Lippincott Williams & Wilkins|location=Baltimore, Md.|isbn=9780781754439|page=167|edition=2nd|url=https://books.google.com/books?id=isqcnR6ryz0C&pg=PA167|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170908153203/https://books.google.com/books?id=isqcnR6ryz0C&pg=PA167|archive-date=2017-09-08}}</ref><ref name=Shar2011>{{cite journal | vauthors = Sharma ST, Nieman LK | title = Cushing's syndrome: all variants, detection, and treatment | journal = Endocrinology and Metabolism Clinics of North America | volume = 40 | issue = 2 | pages = 379–91, viii–ix | date = June 2011 | pmid = 21565673 | pmc = 3095520 | doi = 10.1016/j.ecl.2011.01.006 }}</ref> อาการอาจประกอบด้วย[[ความดันเลือดสูง]], [[abdominal obesity|อ้วนลงพุง]]แต่แขนขาลีบ, [[stretch mark|รอยแตก]]สีแดง, [[moon facies|หน้ากลมแดง]], [[Lipodystrophy|ก้อนไขมันขึ้นระหว่างไหล่]], [[กล้ามเนื้ออ่อนแรง]], [[กระดูกพรุน|กระดูกอ่อนแอ]], [[สิว]] และผิวหนังที่ออ่นไหว แตกได้ง่าย<ref name=NIH2012Sym/> Women may have [[hirsutism|more hair]] and [[irregular menstruation]].<ref name=NIH2012Sym/> บ้างอาจพบการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์, [[ปวดหัว]] และ[[fatigue (medical)|อาการเพลียรุนแรง]]<ref name=NIH2012Sym>{{cite web|title=What are the symptoms of Cushing's syndrome?|url=http://www.nichd.nih.gov/health/topics/cushing/conditioninfo/pages/symptoms.aspx|access-date=16 March 2015|date=2012-11-30|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20150402183051/http://www.nichd.nih.gov/health/topics/cushing/conditioninfo/pages/symptoms.aspx|archive-date=2 April 2015}}</ref>
กลุ่มอาการคุชชิงไม่ได้พบแต่ในเพียงมนุษย์เท่านั้นและยังพบได้บ่อยในสุนัขและม้าด้วย{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}

ความชุกของโรคอยู่ที่สองหรือสามรายต่อประชากรหนึ่งล้านคนต่อปี<ref name=NIH2012Epi/> ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุตั้งแต่ 20 ถึง 50 ปี of<ref name=NIH2008/> และพบความขุกในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายสามเท่า<ref name=NIH2012Epi>{{cite web|title=How many people are affected by or at risk for Cushing's syndrome?|url=http://www.nichd.nih.gov/health/topics/cushing/conditioninfo/pages/risk.aspx|access-date=16 March 2015|date=2012-11-30|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20150402220131/http://www.nichd.nih.gov/health/topics/cushing/conditioninfo/pages/risk.aspx|archive-date=2 April 2015}}</ref> โรคนี้ยังพบได้ในสัตว์อื่นนอกจากมนุษย์รวมถึง แมว หมา และม้า<ref>{{cite book|author1=Etienne Cote|title=Clinical Veterinary Advisor: Dogs and Cats|date=2014|publisher=Elsevier Health Sciences|isbn=9780323240741|page=502|edition=3|url=https://books.google.com/books?id=NmziBQAAQBAJ&pg=PA502|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170908153203/https://books.google.com/books?id=NmziBQAAQBAJ&pg=PA502|archive-date=2017-09-08}}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = McCue PM | title = Equine Cushing's disease | journal = The Veterinary Clinics of North America. Equine Practice | volume = 18 | issue = 3 | pages = 533–43, viii | date = December 2002 | pmid = 12516933 | doi = 10.1016/s0749-0739(02)00038-x }}</ref> โรคนี้มีการอธิบายถึงครั้งแรกโดยประสาทศัลยแพทย์ชาวอเมริกัน [[Harvey Cushing|ฮาร์วีย์ คุชิง]] ในปี 1932<ref>{{cite web|title=Cushing Syndrome: Condition Information|url=http://www.nichd.nih.gov/health/topics/cushing/conditioninfo/Pages/default.aspx|access-date=16 March 2015|date=2012-11-30|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20150402193912/http://www.nichd.nih.gov/health/topics/cushing/conditioninfo/Pages/default.aspx|archive-date=2 April 2015}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:21, 27 มีนาคม 2564

กลุ่มอาการคุชิง
ชื่ออื่นภาวะฮอร์โมนคอร์ติซอลสูง, Itsenko-Cushing syndrome, ภาวะอะดรีโนคอร์ติซอลสูง
อาการใบหน้ากลมในผู้ป่วยที่ได้รับยาฟลูทิคาโซนชนิดสูดดมเป็นเวลาสามเดือน[1]
สาขาวิชาวิทยาต่อมไร้ท่อ
อาการความดันเลือดสูง, อ้วนลงพุงส่วนแขนขาลีว, รอยแตกสีแพง, หน้ากลม, ก้อนไขมันระหว่างไหล่, กล้ามเนื้ออ่อนแรง, สิว, ผิวแตกง่ายอ่อนแอ[2]
การตั้งต้น20–50 ปี[3]
สาเหตุมีคอร์ติซอลในร่างกายเป็นระยะเวลานาน[3]
วิธีวินิจฉัยมีขั้นตอนระบุเฉพาะ[4]
การรักษาตามสาเหตุเกิดโรค[5]
พยากรณ์โรคโดยทั่วไป อาการดีขึ้นหากได้รับการรักษา[6]
ความชุก2–3 ในล้านคนต่อปี[7]

กลุ่มอาการคุชิง (อังกฤษ: Cushing's syndrome) เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะมีกลูโคคอร์ติคอยด์ เช่น คอร์ติซอล ในร่างกายเป็นเวลานาน[3][8][9] อาการอาจประกอบด้วยความดันเลือดสูง, อ้วนลงพุงแต่แขนขาลีบ, รอยแตกสีแดง, หน้ากลมแดง, ก้อนไขมันขึ้นระหว่างไหล่, กล้ามเนื้ออ่อนแรง, กระดูกอ่อนแอ, สิว และผิวหนังที่ออ่นไหว แตกได้ง่าย[2] Women may have more hair and irregular menstruation.[2] บ้างอาจพบการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์, ปวดหัว และอาการเพลียรุนแรง[2]

ความชุกของโรคอยู่ที่สองหรือสามรายต่อประชากรหนึ่งล้านคนต่อปี[7] ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุตั้งแต่ 20 ถึง 50 ปี of[3] และพบความขุกในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายสามเท่า[7] โรคนี้ยังพบได้ในสัตว์อื่นนอกจากมนุษย์รวมถึง แมว หมา และม้า[10][11] โรคนี้มีการอธิบายถึงครั้งแรกโดยประสาทศัลยแพทย์ชาวอเมริกัน ฮาร์วีย์ คุชิง ในปี 1932[12]

อ้างอิง

  1. Celik O, Niyazoglu M, Soylu H, Kadioglu P (August 2012). "Iatrogenic Cushing's syndrome with inhaled steroid plus antidepressant drugs". Multidisciplinary Respiratory Medicine. 7 (1): 26. doi:10.1186/2049-6958-7-26. PMC 3436715. PMID 22958272.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "What are the symptoms of Cushing's syndrome?". 2012-11-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 "Cushing's Syndrome". National Endocrine and Metabolic Diseases Information Service (NEMDIS). July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 February 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2012Diag
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2012Tx2
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2012Tx
  7. 7.0 7.1 7.2 "How many people are affected by or at risk for Cushing's syndrome?". 2012-11-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015.
  8. Forbis, Pat (2005). Stedman's medical eponyms (2nd ed.). Baltimore, Md.: Lippincott Williams & Wilkins. p. 167. ISBN 9780781754439. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
  9. Sharma ST, Nieman LK (June 2011). "Cushing's syndrome: all variants, detection, and treatment". Endocrinology and Metabolism Clinics of North America. 40 (2): 379–91, viii–ix. doi:10.1016/j.ecl.2011.01.006. PMC 3095520. PMID 21565673.
  10. Etienne Cote (2014). Clinical Veterinary Advisor: Dogs and Cats (3 ed.). Elsevier Health Sciences. p. 502. ISBN 9780323240741. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
  11. McCue PM (December 2002). "Equine Cushing's disease". The Veterinary Clinics of North America. Equine Practice. 18 (3): 533–43, viii. doi:10.1016/s0749-0739(02)00038-x. PMID 12516933.
  12. "Cushing Syndrome: Condition Information". 2012-11-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015.