กลุ่มอาการคุชิง
หน้าตา
กลุ่มอาการคุชิง | |
---|---|
ชื่ออื่น | ภาวะฮอร์โมนคอร์ติซอลสูง, Itsenko-Cushing syndrome, ภาวะอะดรีโนคอร์ติซอลสูง |
อาการใบหน้ากลมในผู้ป่วยที่ได้รับยาฟลูทิคาโซนชนิดสูดดมเป็นเวลาสามเดือน[1] | |
สาขาวิชา | วิทยาต่อมไร้ท่อ |
อาการ | ความดันเลือดสูง, อ้วนลงพุงส่วนแขนขาลีว, รอยแตกสีแพง, หน้ากลม, ก้อนไขมันระหว่างไหล่, กล้ามเนื้ออ่อนแรง, สิว, ผิวแตกง่ายอ่อนแอ[2] |
การตั้งต้น | 20–50 ปี[3] |
สาเหตุ | มีคอร์ติซอลในร่างกายเป็นระยะเวลานาน[3] |
วิธีวินิจฉัย | มีขั้นตอนระบุเฉพาะ[4] |
การรักษา | ตามสาเหตุเกิดโรค[5] |
พยากรณ์โรค | โดยทั่วไป อาการดีขึ้นหากได้รับการรักษา[6] |
ความชุก | 2–3 ในล้านคนต่อปี[7] |
กลุ่มอาการคุชิง (อังกฤษ: Cushing's syndrome) เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะมีกลูโคคอร์ติคอยด์ เช่น คอร์ติซอล ในร่างกายเป็นเวลานาน[3][8][9] อาการอาจประกอบด้วยความดันเลือดสูง, อ้วนลงพุงแต่แขนขาลีบ, รอยแตกสีแดง, หน้ากลมแดง, ก้อนไขมันขึ้นระหว่างไหล่, กล้ามเนื้ออ่อนแรง, กระดูกอ่อนแอ, สิว และผิวหนังที่ออ่นไหว แตกได้ง่าย[2] ในผู้หญิงอาจปรากฏอาการขนขึ้นมากและประจำเดือนมาไม่ปกติ[2] บ้างอาจพบการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์, ปวดหัว และอาการเพลียรุนแรง[2]
ความชุกของโรคอยู่ที่สองหรือสามรายต่อประชากรหนึ่งล้านคนต่อปี[7] ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุตั้งแต่ 20 ถึง 50 ปี of[3] และพบความขุกในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายสามเท่า[7] โรคนี้ยังพบได้ในสัตว์อื่นนอกจากมนุษย์รวมถึง แมว หมา และม้า[10][11] โรคนี้มีการอธิบายถึงครั้งแรกโดยประสาทศัลยแพทย์ชาวอเมริกัน ฮาร์วีย์ คุชิง ในปี 1932[12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Celik O, Niyazoglu M, Soylu H, Kadioglu P (August 2012). "Iatrogenic Cushing's syndrome with inhaled steroid plus antidepressant drugs". Multidisciplinary Respiratory Medicine. 7 (1): 26. doi:10.1186/2049-6958-7-26. PMC 3436715. PMID 22958272.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 "What are the symptoms of Cushing's syndrome?". 2012-11-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 "Cushing's Syndrome". National Endocrine and Metabolic Diseases Information Service (NEMDIS). July 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 February 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH2012Diag
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH2012Tx2
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH2012Tx
- ↑ 7.0 7.1 7.2 "How many people are affected by or at risk for Cushing's syndrome?". 2012-11-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015.
- ↑ Forbis, Pat (2005). Stedman's medical eponyms (2nd ed.). Baltimore, Md.: Lippincott Williams & Wilkins. p. 167. ISBN 9780781754439. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
- ↑ Sharma ST, Nieman LK (June 2011). "Cushing's syndrome: all variants, detection, and treatment". Endocrinology and Metabolism Clinics of North America. 40 (2): 379–91, viii–ix. doi:10.1016/j.ecl.2011.01.006. PMC 3095520. PMID 21565673.
- ↑ Etienne Cote (2014). Clinical Veterinary Advisor: Dogs and Cats (3 ed.). Elsevier Health Sciences. p. 502. ISBN 9780323240741. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
- ↑ McCue PM (December 2002). "Equine Cushing's disease". The Veterinary Clinics of North America. Equine Practice. 18 (3): 533–43, viii. doi:10.1016/s0749-0739(02)00038-x. PMID 12516933.
- ↑ "Cushing Syndrome: Condition Information". 2012-11-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015.