ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชอาณาจักรแห่งชนลอมบาร์ด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
== ยุคเริ่มต้น ==
สามปีหลังการสวรรคตของ[[จักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1|จักรพรรดิจัสติเนียน]] อำนาจในการปกครองตอนเหนือของอิตาลีของ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]สิ้นสุดเมื่อถูกชาวลอมบาร์ดรุกราน

ชื่อเรียกชาวลอมบาร์ด หรือ ''ลองกอบาร์ดี'' มีที่มามาจากการไว้เครายาว (ลองเบียร์ด) ชาวลอมบาร์ดเชื่อว่าตนเองมีจุดกำเนิดอยู่ใน[[สแกนดิเนเวีย]] ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 1 ชาวลอมบาร์ดอาศัยอยู่บริเวณตอนล่างของ[[แม่น้ำเอ็ลเบอ]] ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 6 ถิ่นอาศัยของชาวลอมบาร์ด คือ บริเวณ[[แม่น้ำดานูบ]] ในปี ค.ศ. 568 ชาวลอมบาร์ด 130,000 คน ทั้งผู้ชาย ผู้หญิง และเด็ก ถูก[[ชาวอาวาร์]]ผลักดันทั้งจากทางเหนือและทางตะวันออกจนต้องเดินทางข้าม[[เทือกเขาแอลป์]]มาอาศัยอยู่ใน “[[แคว้นลอมบาร์เดีย|ล็อมบาร์เดีย]]”

ในตอนนั้นจักรวรรดิไบแซนไทน์กำลังติดพันอยู่กับชาวอาวาร์และ[[ชาวเปอร์เซีย]] ส่วนอิตาลีก็บอบช้ำจาก[[สงครามกอธิค (ค.ศ. 376-382)|สงครามกอทิค]] ไม่มีทั้งอาหารและเงินทุนในการต่อสู้ ในปี ค.ศ. 573 ชาวลอมบาร์ดเข้ายึดนคร[[เวโรนา]], นคร[[มิลาน|มิลาโน]], นคร[[ฟลอเรนซ์|ฟิเรนเซ]] และเมือง[[ปาวีอา]] โดยได้ตั้งเมืองปาวีอาเป็นเมืองหลวง จากนั้นเข้ายึดนคร[[ปาโดวา]]ในปี ค.ศ. 601, นคร[[เครโมนา]]และนคร[[มันโตวา]]ในปี ค.ศ. 603 ต่อด้วยนคร[[เจนัว|เจโนวา]]ในปี ค.ศ. 640

== ยุครุ่งเรือง ==
== ยุครุ่งเรือง ==
[[ไฟล์:Liutprand's Italy.svg|left|thumb|อาณาเขตของราชอาณาจักรลอมบาร์ดในปลายรัชสมัยของพระเจ้าลิวปรันด์ (ค.ศ. 744)]]
[[ไฟล์:Liutprand's Italy.svg|left|thumb|อาณาเขตของราชอาณาจักรลอมบาร์ดในปลายรัชสมัยของพระเจ้าลิวปรันด์ (ค.ศ. 744)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:02, 5 มิถุนายน 2563

ยุครุ่งเรือง

อาณาเขตของราชอาณาจักรลอมบาร์ดในปลายรัชสมัยของพระเจ้าลิวปรันด์ (ค.ศ. 744)

กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของความลอมบาร์ด คือ พระเจ้าลิวต์ปรันด์ (ค.ศ. 712-744) พระองค์ยึดนครราเวนนา, นครสโปเลโต และนครเบเนเวนโต ทางตะวันออก ตอนกลาง และตอนใต้ของอิตาลีตามลำดับ ทรงหมายมั่นที่จะรวมอิตาลีทั้งหมดเป็นหนึ่งเดียว แต่สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 3 ไม่ต้องการให้ตำแหน่งพระสันตะปาปากลายเป็นเพียงตำแหน่งบิชอปของชาวลอมบาร์ดจึงส่งสาส์นถึงชาวเวนิซ เพื่อให้มายึดนครราเวนนาคืนให้ราชอาณาจักรไบแซนไทน์ พระเจ้าลิวต์ปรันด์เป็นกษัตริย์ที่ดีที่สุดที่เคยปกครองตอนเหนือและตอนกลางของอิตาลีนับตั้งแต่พระเจ้าทีโอโดริกผู้เป็นชาวกอทสวรรคต แม้ว่าทั้งพระองค์และพระเจ้าทีโอโดริกต่างไม่รู้หนังสือทั้งคู่

ชาวลอมบาร์ดพัฒนาอารยธรรมของตนเอง กษัตริย์มาจากการคัดเลือกและมีสภาขุนนางคอยให้คำปรึกษา พระเจ้าราทารี (ค.ศ. 643) ออกประมวลกฎหมาย เพื่อปกป้องคนจนจากคนรวย, ดูหมิ่นความเชื่อเรื่องไสยเวทย์ และให้อิสรภาพในการประกอบพิธีกรรมแบบคาทอลิก, เอเรียส และเพแกน ชาวเจอร์แมนิกผู้รุกรานใช้การแต่งงานกลืนสายเลือดและภาษาละตินของชาวอิตาลี ชาวลอมบาร์ดมีอัตลักษณ์เฉพาะตัว คือ ตาสีฟ้า, ผมสีทอง, พูดภาษาอิตาลีปนศัพท์ติวโตนิก ในช่วงปลายยุคลอมบาร์ด นครทางตอนเหนือของอิตาลีมั่งคั่งและแข็งแกร่ง รุ่งเรืองทั้งด้านศิลปะและการสงคราม งานวรรณกรรมชะลอตัว แต่ชาวลอมบาร์ดเก่งด้านสถาปัตยกรรมและการเงิน สถาปัตยกรรมลอมบาร์ดต่อมาจะพัฒนาเป็นสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์

ยุคสิ้นสุด

ในปี ค.ศ. 751 พระเจ้าไอส์เทิล์ฟแย่งชิงนครราเวนนามาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์และอ้างว่านครโรมาเป็นส่วนหนึ่งในอาณาจักรของพระองค์ สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 2 จึงร้องขอความช่วยเหลือจากจักรพรรดิคอนสแตนตินอช โคปรอนนิมอช แต่จักรพรรดิกรีกไม่ได้แสดงท่าทีตอบโต้ใดๆ พระสันตะปาปาสตีเฟนจึงส่งคำร้องใหม่ไปถึงพระเจ้าเปแป็งผู้เตี้ยสั้น กษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ พระเจ้าเปแป็งยกทัพข้ามเทือกเขาแอลป์และเอาชนะพระเจ้าไอส์เทิล์ฟได้อย่างท่วมท้น ลอมบาร์ดีกลายสภาพเป็นดินแดนศักดินาของชาวแฟรงก์ พระเจ้าเปแป็งได้ยกพื้นที่ตอนกลางของอิตาลีทั้งหมดให้สมเด็จพระสันตะปาปา แม้จะยังคงได้รับการรับรองจากพระสันตะปาปา แต่อำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ในตอนเหนือของอิตาลีได้สิ้นสุดลง ในปี ค.ศ. 774 พระเจ้าเดซิเดริอุสพยายามกอบกู้อิสรภาพและพิชิตลอมบาร์เดียกลับคืนมา สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 1 จึงเชิญจักรพรรดิชาร์เลอมาญมาปราบเมืองปาวีอา พระเจ้าเดซิเดริอุสถูกจับโกนหัวส่งเข้าอาราม ราชอาณาจักรลอมบาร์ดจึงสิ้นสุดลงนับตั้งแต่นั้น และกลายสภาพเป็นมณฑลหนึ่งของชาวแฟรงก์อย่างสมบูรณ์

อ้างอิง

  • Durant, Will (1992). The Age of Faith: A History of Medieval Civilization. MJF Books.

บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลหลัก

วรรณกรรมทางประวัติศาสตร์

  • Chris Wickham (1981). Early Medieval Italy: Central Power and Local Society, 400–1000. MacMillan Press.
  • Azzara, Claudio (2005). Le leggi dei Longobardi, storia, memoria e diritto di un popolo germanico (ภาษาItalian). Roma: Viella. ISBN ISBN 888334099X. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso= และ |meseoriginale= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Azzara, Claudio (2002). L'Italia dei barbari (ภาษาItalian). Bologna: Il Mulino. ISBN ISBN 8815088121. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Paolo Delogu. Longobardi e Bizantini in Storia d'Italia, Torino, UTET, 1980. ISBN 8802035105.
  • Bandera, Sandrina (2004). Declino ed eredità dai Longobardi ai Carolingi. Lettura e interpretazione dell'altare di S. Ambrogio (ภาษาItalian). Morimondo: Fondazione Abbatia Sancte Marie de Morimundo. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Bertelli, Carlo (2000). Il futuro dei Longobardi. L'Italia e la costruzione dell'Europa di Carlo Magno (ภาษาItalian) (Skira ed.). Milano. ISBN ISBN 8881187981. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso= และ |meseoriginale= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Bertolini, Ottorino (1972). Roma e i Longobardi (ภาษาItalian). Roma: Istituto di studi romani. ISBN BNI 7214344. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Bognetti, Gian Piero (1957). L'Editto di Rotari come espediente politico di una monarchia barbarica (ภาษาItalian). Milano: Giuffre. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Cardini, Franco (2006). Storia medievale (ภาษาItalian). Firenze: Le Monnier. ISBN ISBN 8800204740. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso= และ |meseoriginale= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Gasparri, Stefano (1978). I duchi longobardi (ภาษาItalian). Roma: La Sapienza. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Jarnut, Jörg (2002). Storia dei Longobardi (ภาษาItalian). Torino: Einaudi. ISBN ISBN 8846440854. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Montanelli, Indro (1965). L'Italia dei secoli bui (ภาษาItalian). Milano: Rizzoli. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso= และ |meseoriginale= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Mor, Carlo Guido (1930). "Contributi alla storia dei rapporti fra Stato e Chiesa al tempo dei Longobardi. La politica ecclesiastica di Autari e di Agigulfo". Rivista di storia del diritto italiano (estratto).
  • Neil, Christie. I Longobardi. Storia e archeologia di un popolo (ภาษาItalian). Genova: ECIG. ISBN ISBN 8875457352. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |anno1997=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Possenti, Paolo (2001). Le radici degli italiani. Vol. II: Romania e Longobardia (ภาษาItalian). Milano: Effedieffe. ISBN ISBN 8885223273. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Rovagnati, Sergio (2003). I Longobardi (ภาษาItalian). Milano: Xenia. ISBN ISBN 8872734843. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Tagliaferri, Amelio (1965). I Longobardi nella civiltà e nell'economia italiana del primo Medioevo (ภาษาItalian). Milano: Giuffrè. ISBN BNI 6513907. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Tabacco, Giovanni (1974). Storia d'Italia. Vol. I: Dal tramonto dell'Impero fino alle prime formazioni di Stati regionali (ภาษาItalian). Torino: Einaudi. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Tabacco, Giovanni (1999). Egemonie sociali e strutture del potere nel medioevo italiano (ภาษาItalian). Torino: Einaudi. ISBN ISBN 8806494600. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |dataoriginale=, |curatore=, |cid=, |month=, |chapterurl=, |mesediaccesso=, |annodiaccesso=, |meseoriginale= และ |coauthors= (help); ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)

ดูเพิ่ม