ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายมรณะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
'''ทางรถไฟสายมรณะ''' สร้างขึ้นในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ใช้เวลาในการสร้างเสร็จเพียง 1 ปี ตั้งแต่เดือน[[ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2485]] ถึงเดือน[[ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2486]] เพื่อใช้เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ผ่านประเทศ[[พม่า]] หลังสงครามทางรถไฟบางส่วนถูกเลาะทิ้ง บางส่วนจมอยู่ใต้ทะเลสาบ[[เขื่อนวชิราลงกรณ์]] ทางรถไฟสายนี้ถือเป็นอนุสรณ์ให้รำลึกถึงเหตุการณ์สงครามในครั้งนั้น เนื่องจากน้ำพักน้ำแรงของการบุกเบิกก่อสร้าง เป็นของทหารเชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ที่กองทัพ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]เกณฑ์มา
'''ทางรถไฟสายมรณะ''' สร้างขึ้นในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ใช้เวลาในการสร้างเสร็จเพียง 1 ปี ตั้งแต่เดือน[[ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2485]] ถึงเดือน[[ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2486]] เพื่อใช้เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ผ่านประเทศ[[พม่า]] หลังสงครามทางรถไฟบางส่วนถูกเลาะทิ้ง บางส่วนจมอยู่ใต้ทะเลสาบ[[เขื่อนวชิราลงกรณ์]] ทางรถไฟสายนี้ถือเป็นอนุสรณ์ให้รำลึกถึงเหตุการณ์สงครามในครั้งนั้น เนื่องจากน้ำพักน้ำแรงของการบุกเบิกก่อสร้าง เป็นของทหารเชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ที่กองทัพ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]เกณฑ์มา


เหตุที่ทางรถไฟสายนี้ได้ชื่อว่า ทางรถไฟสายมรณะ ก็เพราะว่า ในสมัยสมัย[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] โดยกองทัพ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ได้เกณฑ์เชลยศึก[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]] ได้แก่ ทหาร[[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]] [[อเมริกัน]] [[ออสเตรเลีย]] [[ฮอลแลนด์|ฮอลันดา]]และ[[นิวซีแลนด์]] ประมาณ 61,700 คนและกรรมกรชาว[[ชาวจีน|จีน]] [[ญวน]] [[ชวา]] [[มลายู]] [[ประเทศไทย|ไทย]] [[พม่า]] [[อินเดีย]] อีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศ[[พม่า]] เพื่อลำเลียงอาวุธยุทโธปกร รวมทั้งกำลังพล เพื่อจะไปโจมตี[[พม่า]]และ[[อินเดีย]]ต่อไป ซึ่งขณะนั้นเป็นดินแดนอาณานิคมของ[[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]] เส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้าม[[แม่น้ำแควใหญ่]]จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหาร ทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง
เหตุที่ทางรถไฟสายนี้ได้ชื่อว่า ทางรถไฟสายมรณะ ก็เพราะว่า ในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] โดยกองทัพ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ได้เกณฑ์เชลยศึก[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]] ได้แก่ ทหาร[[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]] [[อเมริกัน]] [[ออสเตรเลีย]] [[ฮอลแลนด์|ฮอลันดา]]และ[[นิวซีแลนด์]] ประมาณ 61,700 คนและกรรมกรชาว[[ชาวจีน|จีน]] [[ญวน]] [[ชวา]] [[มลายู]] [[ประเทศไทย|ไทย]] [[พม่า]] [[อินเดีย]] อีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศ[[พม่า]] เพื่อลำเลียงอาวุธยุทโธปกร รวมทั้งกำลังพล เพื่อจะไปโจมตี[[พม่า]]และ[[อินเดีย]]ต่อไป ซึ่งขณะนั้นเป็นดินแดนอาณานิคมของ[[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]] เส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้าม[[แม่น้ำแควใหญ่]]จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหาร ทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง


เส้นทางรถไฟสายนี้เป็นอนุสรณ์ของโลกที่จำรึกความโหดร้ายทารุณของ[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] และเป็นอนุสรณ์แก่ผู้เสียชีวิตในสงครามด้วย
เส้นทางรถไฟสายนี้เป็นอนุสรณ์ของโลกที่จำรึกความโหดร้ายทารุณของ[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] และเป็นอนุสรณ์แก่ผู้เสียชีวิตในสงครามด้วย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:32, 17 ธันวาคม 2550

ภาพทางรถไฟสายมรณะ ที่คดเขี้ยวลัดเลาะไปตามหน้าผา มีทิวทัศน์อันงดงาม
ช่องเขามรณะ

ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายนี้เริ่มต้นจากสถานีหนองปลาดุก อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ผ่านจังหวัดกาญจนบุรีข้ามแม่น้ำแควใหญ่ โดยสะพานข้ามแม่น้ำแคว ไปทางทิศตะวันตกจนถึงด่านเจดีย์สามองค์ เพื่อให้ถึงปลายทางที่เมืองตันบูซายัด ประเทศพม่า รวมระยะทางในเขตประเทศไทย 300 กิโลเมตร

ประวัติ

ทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ใช้เวลาในการสร้างเสร็จเพียง 1 ปี ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2485 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2486 เพื่อใช้เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ผ่านประเทศพม่า หลังสงครามทางรถไฟบางส่วนถูกเลาะทิ้ง บางส่วนจมอยู่ใต้ทะเลสาบเขื่อนวชิราลงกรณ์ ทางรถไฟสายนี้ถือเป็นอนุสรณ์ให้รำลึกถึงเหตุการณ์สงครามในครั้งนั้น เนื่องจากน้ำพักน้ำแรงของการบุกเบิกก่อสร้าง เป็นของทหารเชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ที่กองทัพญี่ปุ่นเกณฑ์มา

เหตุที่ทางรถไฟสายนี้ได้ชื่อว่า ทางรถไฟสายมรณะ ก็เพราะว่า ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดาและนิวซีแลนด์ ประมาณ 61,700 คนและกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดีย อีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า เพื่อลำเลียงอาวุธยุทโธปกร รวมทั้งกำลังพล เพื่อจะไปโจมตีพม่าและอินเดียต่อไป ซึ่งขณะนั้นเป็นดินแดนอาณานิคมของอังกฤษ เส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหาร ทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง

เส้นทางรถไฟสายนี้เป็นอนุสรณ์ของโลกที่จำรึกความโหดร้ายทารุณของสงครามโลกครั้งที่ 2 และเป็นอนุสรณ์แก่ผู้เสียชีวิตในสงครามด้วย

การท่องเที่ยว

สะพานถ้ำกระแซ

ทิวทัศน์ตลอดเส้นทางนี้สวยงามมาก โดยเฉพาะบริเวณถ้ำกระแซ ที่เส้นทางรถไฟจะลัดเลาะไปตามเชิงผาเลียบไปกับลำน้ำแควน้อย ปัจจุบันทางรถไฟสายนี้สุดปลายทางที่บ้านท่าเสาหรือสถานีน้ำตก ระยะทางจากสถานีกาญจนบุรีถึงสถานีน้ำตกเป็นระยะทางประมาณ 77 กิโลเมตร

การรถไฟแห่งประเทศไทยเปิดบริการเดินรถไฟขบวนปกติ ธนบุรี - น้ำตก ทุกวัน และจัดขบวนพิเศษสายกรุงเทพ (หัวลําโพง) - น้ำตกไทรโยคน้อย ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ การรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 0 2223 7010, 0 2223 7020 หรือ 1690

รายชื่อสถานี

ที่หยุดรถน้ำตกไทรโยคน้อย

สถานีปัจจุบัน

  1. ชุมทางหนองปลาดุก
  2. ถนนทรงพล
  3. สระโกสินารายณ์
  4. ลูกแก
  5. ท่าเรือน้อย
  6. บ้านหนองเสือ
  7. ทุ่งทอง
  8. ปากแพรก
  9. กาญจนบุรี
  10. สะพานแควใหญ่
  11. เขาปูน
  12. วิทยาลัยเกษตร
  13. วังลาน
  14. นากาญจน์
  15. วังเย็น
  16. วังตะเคียน
  17. โป่งเสี้ยว
  18. บ้านเก่า
  19. ท่าตาเสือ
  20. ท่ากิเลน
  21. วังสิงห์
  22. ลุ่มสุ่ม
  23. สะพานถ้ำกระแซ
  24. วังโพ
  25. เกาะมหามงคล
  26. ช่องแคบ
  27. วังใหญ่
  28. บ้านพุพง
  29. น้ำตก
  30. น้ำตกไทรโยคน้อย

สถานีสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2

  1. ท้องช้าง
  2. ถ้ำผี
  3. หินตก
  4. แคนนิว
  5. ไทรโยค
  6. กิ่งไทรโยค
  7. ริ่นถิ่น
  8. กุย
  9. หินดาด
  10. ปรางกาสี
  11. ท่าขนุน
  12. น้ำโจนใหญ่
  13. ท่ามะยอ
  14. ตำรองผาโท้
  15. บ้านเกริงไกร
  16. คุริคอนตะ
  17. กองกุยตะ
  18. ทิมองตะ
  19. นิเกะ
  20. ซองกาเลีย
  21. ด่านพระเจดีย์สามองค์

รูปภาพ

สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับทางรถไฟสายมรณะ