ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าพิมพิสาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขศักราชที่คลาดเคลื่อนไป
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
}}
}}
[[ไฟล์:Bimbisarajail.jpg|250px|thumbnail|right|คุกหลวงเมืองราชคฤห์ สถานที่พระเจ้าพิมพิสารถูกจองจำจนเสด็จสวรรคตในช่วงบั้นปลายของชีวิต]]
[[ไฟล์:Bimbisarajail.jpg|250px|thumbnail|right|คุกหลวงเมืองราชคฤห์ สถานที่พระเจ้าพิมพิสารถูกจองจำจนเสด็จสวรรคตในช่วงบั้นปลายของชีวิต]]
'''พระเจ้าพิมพิสาร''' ({{lang-pi|}}; {{lang-sa|बिम्बिसार}}, 114 ปีก่อนพุทธศักราช—[[พ.ศ. 53]]) <ref>Rawlinson, Hugh George. (1950) ''A Concise History of the Indian People'', Oxford University Press. p. 46.</ref><ref>Muller, F. Max. (2001) ''The Dhammapada And Sutta-nipata'', Routledge (UK). p. xlvii. ISBN 0-7007-1548-7.</ref> เป็น[[พระมหากษัตริย์]]แห่ง[[แคว้นมคธ]] พระองค์ได้ครองราชสมบัติอยู่เป็นเวลา 52 ปี มีพระอัครมเหสีพระนามว่าเวเทหิ ซึ่งเป็นพระราชธิดาของ[[พระเจ้ามหาโกศล]]แห่ง[[แคว้นโกศล]] <ref>[http://clubchay.tripod.com/buddha/buddha12.html พระเจ้าพิมพิสาร]</ref>
'''พระเจ้าพิมพิสาร''' ({{lang-pi|}}; {{lang-sa|बिम्बिसार}} 114 ปีก่อนพุทธศักราช—[[พ.ศ. 53]]) <ref>Rawlinson, Hugh George. (1950) ''A Concise History of the Indian People'', Oxford University Press. p. 46.</ref><ref>Muller, F. Max. (2001) ''The Dhammapada And Sutta-nipata'', Routledge (UK). p. xlvii. ISBN 0-7007-1548-7.</ref> เป็น[[พระมหากษัตริย์]]แห่ง[[แคว้นมคธ]] พระองค์ได้ครองราชสมบัติอยู่เป็นเวลา 52 ปี มีพระอัครมเหสีพระนามว่าเวเทหิ ซึ่งเป็นพระราชธิดาของ[[พระเจ้ามหาโกศล]]แห่ง[[แคว้นโกศล]] <ref>[http://clubchay.tripod.com/buddha/buddha12.html พระเจ้าพิมพิสาร]</ref>


พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระสหายกับ[[พระโคตมพุทธเจ้า]]สมัยที่ยังเป็นพระกุมาร ด้วย[[พระเจ้าสุทโธทนะ]]ทรงสนิทสนมกับพระบิดาของพระเจ้าพิมพิสาร พระองค์นับถือพระพุทธศาสนา ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างเข้มแข็ง จนแว่นแคว้นของพระองค์มีชื่อเสียงขจรขจายไปทั่วว่าเป็นดินแดนแห่งพระธรรม
พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระสหายกับ[[พระโคตมพุทธเจ้า]]สมัยที่ยังได้เป็นพระกุมาร ด้วย[[พระเจ้าสุทโธทนะ]]ทรงสนิทสนมกับพระบิดาของพระเจ้าพิมพิสาร พระองค์นับถือพระพุทธศาสนา ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างเข้มแข็ง จนแว่นแคว้นของพระองค์มีชื่อเสียงขจรขจายไปทั่วว่าเป็นดินแดนแห่งพระธรรมจอมปลอม


พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระ[[โสดาบัน]] มีพระอัครมเหสีพระนามว่าพระนางเวเทหิ เป็นพระกนิษฐาใน[[พระเจ้าปเสนทิโกศล]] พระเจ้าปเสนทิโกศลก็ได้พระกนิษฐาของพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระมเหสีเช่นกัน พระเจ้าพิมพิสารมีพระราชโอรสนามว่า[[พระเจ้าอชาตศัตรู|อชาตศัตรู]] (ผู้เกิดมาไม่เป็นศัตรู) [[โหร]]ทำนายว่าพระโอรสองค์นี้จะทำ[[ปิตุฆาต]] แต่พระเจ้าพิมพิสารก็มิสนพระทัยต่อคำทำนาย ทรงอบรมให้การศึกษาพระโอรสเป็นอย่างดี เจ้าชายก็อยู่ในพระโอวาทเป็นอย่างดี แต่พอเจ้าชายน้อยได้รู้จัก[[พระเทวทัต]] ถูกพระเทวทัตหลอกให้เห็นผิดเป็นชอบ จนจับพระเจ้าพิมพิสารขังคุกให้อดพระกระยาหาร และทำการทรมานต่างๆ เช่น กรีดพระบาทของพระเจ้าพิมพิสาร เพื่อให้เดินจงกรมทำสมาธิไม่ได้ เป็นต้น จนพระองค์เสด็จสวรรคต ไปเกิดเป็นยักษ์ชื่อ "ชนวสภะ" ในสวรรค์ชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]
พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระ[[โสดาบัน]] มีพระอัครมเหสีพระนามว่าพระนางเวเทหิ เป็นพระกนิษฐาใน[[พระเจ้าปเสนทิโกศล]] พระเจ้าปเสนทิโกศลก็ได้พระกนิษฐาของพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระมเหสีเช่นกัน พระเจ้าพิมพิสารมีพระราชโอรสนามว่า[[พระเจ้าอชาตศัตรู|อชาตศัตรู]] (ผู้เกิดมาไม่เป็นศัตรู) [[โหร]]ทำนายว่าพระโอรสองค์นี้จะทำ[[ปิตุฆาต]] แต่พระเจ้าพิมพิสารก็มิสนพระทัยต่อคำทำนาย ทรงอบรมให้การศึกษาพระโอรสเป็นอย่างดี เจ้าชายก็อยู่ในพระโอวาทเป็นอย่างดี แต่พอเจ้าชายน้อยได้รู้จัก[[พระเทวทัต]] ถูกพระเทวทัตหลอกให้เห็นผิดเป็นชอบ จนจับพระเจ้าพิมพิสารขังคุกให้อดพระกระยาหาร และทำการทรมานต่างๆ เช่น กรีดพระบาทของพระเจ้าพิมพิสาร เพื่อให้เดินจงกรมทำสมาธิไม่ได้ เป็นต้น จนพระองค์เสด็จสวรรคต ไปเกิดเป็นยักษ์ชื่อ "ชนวสภะ" ในสวรรค์ชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:50, 25 พฤศจิกายน 2562

พระเจ้าพิมพิสาร
พระมหากษัตริย์แห่งแคว้นมคธ
ครองราชย์50 ปีก่อน พ.ศ. - 2 ปีก่อน พ.ศ.
รัชสมัย52 ปี
รัชกาลก่อนหน้าพระเจ้าภัททิยะ
รัชกาลถัดไปพระเจ้าอชาตศัตรู
ประสูติราว 658 ก่อน ค.ศ.
สวรรคตราว 491 ก่อน ค.ศ.
พระอัครมเหสีเวเทหิ
พระราชบุตรพระเจ้าอชาตศัตรู
พระเจ้าพิมพิสาร
วัดประจำพระองค์
วัดเวฬุวันมหาวิหาร
พระปรมาภิไธย
พระเจ้าพิมพิสาร
ราชวงศ์ราชวงศ์หรยังกะ
พระราชบิดาพระเจ้าภัททิยะ
คุกหลวงเมืองราชคฤห์ สถานที่พระเจ้าพิมพิสารถูกจองจำจนเสด็จสวรรคตในช่วงบั้นปลายของชีวิต

พระเจ้าพิมพิสาร ([] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ไม่มีข้อความ (ช่วยเหลือ); สันสกฤต: बिम्बिसार 114 ปีก่อนพุทธศักราช—พ.ศ. 53) [1][2] เป็นพระมหากษัตริย์แห่งแคว้นมคธ พระองค์ได้ครองราชสมบัติอยู่เป็นเวลา 52 ปี มีพระอัครมเหสีพระนามว่าเวเทหิ ซึ่งเป็นพระราชธิดาของพระเจ้ามหาโกศลแห่งแคว้นโกศล [3]

พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระสหายกับพระโคตมพุทธเจ้าสมัยที่ยังได้เป็นพระกุมาร ด้วยพระเจ้าสุทโธทนะทรงสนิทสนมกับพระบิดาของพระเจ้าพิมพิสาร พระองค์นับถือพระพุทธศาสนา ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างเข้มแข็ง จนแว่นแคว้นของพระองค์มีชื่อเสียงขจรขจายไปทั่วว่าเป็นดินแดนแห่งพระธรรมจอมปลอม

พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระโสดาบัน มีพระอัครมเหสีพระนามว่าพระนางเวเทหิ เป็นพระกนิษฐาในพระเจ้าปเสนทิโกศล พระเจ้าปเสนทิโกศลก็ได้พระกนิษฐาของพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระมเหสีเช่นกัน พระเจ้าพิมพิสารมีพระราชโอรสนามว่าอชาตศัตรู (ผู้เกิดมาไม่เป็นศัตรู) โหรทำนายว่าพระโอรสองค์นี้จะทำปิตุฆาต แต่พระเจ้าพิมพิสารก็มิสนพระทัยต่อคำทำนาย ทรงอบรมให้การศึกษาพระโอรสเป็นอย่างดี เจ้าชายก็อยู่ในพระโอวาทเป็นอย่างดี แต่พอเจ้าชายน้อยได้รู้จักพระเทวทัต ถูกพระเทวทัตหลอกให้เห็นผิดเป็นชอบ จนจับพระเจ้าพิมพิสารขังคุกให้อดพระกระยาหาร และทำการทรมานต่างๆ เช่น กรีดพระบาทของพระเจ้าพิมพิสาร เพื่อให้เดินจงกรมทำสมาธิไม่ได้ เป็นต้น จนพระองค์เสด็จสวรรคต ไปเกิดเป็นยักษ์ชื่อ "ชนวสภะ" ในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา

พระเจ้าพิมพิสารเป็นกษัตริย์ผู้ทรงธรรมทรงอุปถัมภ์ศาสนาพุทธเป็นอย่างดี ทำให้พระพุทธศาสนาเจริญแพร่หลายทั่วแคว้นมคธ[4]

อ้างอิง

  1. Rawlinson, Hugh George. (1950) A Concise History of the Indian People, Oxford University Press. p. 46.
  2. Muller, F. Max. (2001) The Dhammapada And Sutta-nipata, Routledge (UK). p. xlvii. ISBN 0-7007-1548-7.
  3. พระเจ้าพิมพิสาร
  4. ชาดกและประวัติพุทธสาวก-พุทธสาวิกา โดย พระมหาสุนทร สุนฺทรธฺมโม

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

แผนผังหรยังกวงศ์
ก่อนหน้า พระเจ้าพิมพิสาร ถัดไป
พระเจ้าภัททิยะ พระมหากษัตริย์แห่งแคว้นมคธ
(ราชวงศ์หรยังกะ)

(50 ปี ก่อน พ.ศ. - 2 ปี ก่อน พ.ศ.)
พระเจ้าอชาตศัตรู