ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระดูกไฮออยด์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ไม่มีกระดูกไฮออยด์''' ({{Lang-en|hyoid bone or Lingual Bone}}) เป็น[[กระดูก]]ที่อยู่ใน[[คอ]] และเป็นกระดูกเพียงชิ้นเดียวในร่างกายมนุษย์ที่ไม่เกิดข้อต่อกับกระดูกชิ้นอื่นๆ เลย กระดูกนี้ค้ำจุนโดย[[กล้ามเนื้อ]]ของคอและทำหน้าที่ช่วยค้ำจุนโคน[[ลิ้น]]
{{กล่องข้อมูล กระดูก
| Name = กระดูกไฮออยด์<br /> (Hyoid bone)
| Latin = os hyoideum
| GraySubject = 45
| GrayPage = 177
| Image = Gray186.png
| Caption = พื้นผิวด้านหน้าของ'''กระดูกไฮออยด์'''
| Image2 = Gray1194.png
| Caption2 = มุมมองทางด้านหน้าเยื้องด้านข้างของศีรษะและลำคอ
| Precursor = [[branchial arch]] คู่ที่ 2 และ 3<ref>{{EmbryologyUNC|hednk|023}}</ref>
| Origins =
| Insertions =
| Articulations =
| MeshName = Hyoid+Bone
| MeshNumber = A02.835.232.409
}}
'''กระดูกไฮออยด์''' ({{Lang-en|hyoid bone or Lingual Bone}}) เป็น[[กระดูก]]ที่อยู่ใน[[คอ]] และเป็นกระดูกเพียงชิ้นเดียวในร่างกายมนุษย์ที่ไม่เกิดข้อต่อกับกระดูกชิ้นอื่นๆ เลย กระดูกนี้ค้ำจุนโดย[[กล้ามเนื้อ]]ของคอและทำหน้าที่ช่วยค้ำจุนโคน[[ลิ้น]]


กระดูกไฮออยด์มีรูปร่างคล้ายเกือกม้า และแขวนจากยอดของ[[สไตลอยด์ โพรเซสของกระดูกขมับ]]โดย[[เอ็นสไตโลไฮออยด์]] (stylohyoid ligaments)
กระดูกไฮออยด์มีรูปร่างคล้ายเกือกม้า และแขวนจากยอดของ[[สไตลอยด์ โพรเซสของกระดูกขมับ]]โดย[[เอ็นสไตโลไฮออยด์]] (stylohyoid ligaments)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:18, 7 สิงหาคม 2562

ไม่มีกระดูกไฮออยด์ (อังกฤษ: hyoid bone or Lingual Bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในคอ และเป็นกระดูกเพียงชิ้นเดียวในร่างกายมนุษย์ที่ไม่เกิดข้อต่อกับกระดูกชิ้นอื่นๆ เลย กระดูกนี้ค้ำจุนโดยกล้ามเนื้อของคอและทำหน้าที่ช่วยค้ำจุนโคนลิ้น

กระดูกไฮออยด์มีรูปร่างคล้ายเกือกม้า และแขวนจากยอดของสไตลอยด์ โพรเซสของกระดูกขมับโดยเอ็นสไตโลไฮออยด์ (stylohyoid ligaments)

ส่วนต่างๆ ของกระดูก

กระดูกไฮออยด์ประกอบด้วยส่วนต่างๆ 5 ส่วน ได้แก่

การสร้างกระดูก

การสร้างกระดูกไฮออยด์เกิดจากศูนย์เริ่มสร้างกระดูก 6 ศูนย์ ได้แก่ ที่ตัวกระดูก 2 ศูนย์ และที่กิ่งของกระดูกกิ่งละ 2 ศูนย์ การสร้างเนื้อกระดูกเริ่มที่กิ่งใหญ่ราวๆ ปลายระยะทารกในครรภ์ (fetus) และที่ตัวกระดูกหลังจากนั้นเล็กน้อย และที่กิ่งเล็กระหว่างขวบปีแรกถึงปีที่สองหลังจากคลอด

จุดเกาะของกล้ามเนื้อ

กล้ามเนื้อตามรายชื่อด้านล่างเป็นกล้ามเนื้อที่เกาะกับกระดูกไฮออยด์[1]

หน้าที่

แม้ว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมหลายชนิดจะมีกระดูกไฮออยด์ แต่ในสิ่งมีชีวิตชนิด Homo sapiens มีลักษณะเฉพาะคือสามารถช่วยในการเปล่งเสียงได้หลายชนิดมากกว่าสัตว์ชนิดอื่นๆ[2] กระดูกไฮออยด์ในมนุษย์สามารถช่วยในการเคลื่อนที่ของลิ้น คอหอย และกล่องเสียงโดยการรัดโครงสร้างเหล่านี้ด้านข้างเข้าหากันเพื่อช่วยในการสร้างเสียงที่แตกต่างกันได้หลากหลาย มีการค้นพบว่ากระดูกไฮออยด์ของมนุษย์ปัจจุบันและมนุษย์นีแอนเดอร์ธาลมีลักษณะเหมือนกัน จึงสันนิษฐานได้ว่ามนุษย์นีแอนเดอร์ธาลอาจมีความสามารถในการสร้างภาษาพูดได้บ้าง

การหักของกระดูก

เนื่องจากตำแหน่งของกระดูกไฮออยด์นั้นอยู่ในตำแหน่งที่มีแนวโน้มการแตกหักได้ยาก จึงมักไม่ค่อยพบการหักของกระดูกนี้ แต่ในการวินิจฉัยการเสียชีวิต การหักของกระดูกไฮออยด์เป็นเหตุสงสัยในการหายใจไม่ออกเหตุบีบรัดคอ (strangulation)

นิรุกติศาสตร์

ชื่อของกระดูกไฮออยด์ (hyoid) มาจากรากศัพท์ภาษากรีก hyoeides แปลว่า รูปร่างเหมือนอักษรอิปไซลอน (upsilon; υ)

ภาพอื่นๆ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • SUNY Downstate Medical Center 25:03-0101 - "Anterior Triangle of the Neck: The Muscular Triangle"
  • Roche Lexicon - illustrated navigator, at Elsevier 25420.000-1
  • Norman/Georgetown lesson11 (larynxskel1)