กระดูกหุ้มสมอง
หน้าตา
กระดูกหุ้มสมอง | |
---|---|
กระดูกหุ้มสมองของมนุษย์ทั้งแปดชิ้น | |
กระดูกหุ้มสมองแปดชิ้น (กระดูกใบหน้าแสดงด้วยสีโปร่งใส)
เหลือง: กระดูกหน้าผาก (1)
น้ำเงิน: กระดูกข้างขม่อม (2)
ม่วง: กระดูกสฟีนอยด์ (1)
ส้ม: กระดูกขมับ (2)
เขียว: กระดูกท้ายทอย (1)
แดง: กระดูกเอทมอยด์ (1) | |
รายละเอียด | |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | Neurocranium |
TA98 | A02.1.00.007 |
TA2 | 354 |
FMA | 53672 |
ศัพท์ทางกายวิภาคของกระดูก |
ในกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ กระดูกหุ้มสมอง (อังกฤษ: Cranium) เป็นกระดูกส่วนบนและส่วนหลังของกะโหลกศีรษะ ทำหน้าที่ป้องกันสมอง[1]
โครงสร้าง
[แก้]แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่จัดให้กระดูกเหล่านี้เป็นกระดูกหุ้มสมอง[2][3]
- กระดูกเอทมอยด์ (Ethmoid bone)
- กระดูกหน้าผาก (Frontal bone)
- กระดูกท้ายทอย (Occipital bone)
- กระดูกข้างขม่อม (Parietal bone)
- กระดูกสฟีนอยด์ (Sphenoid bone)
- กระดูกขมับ (Temporal bone)
ส่วนกระดูกอื่นๆ ที่บางครั้งจัดเป็นกระดูกหุ้มสมองด้วย ได้แก่[4][5]
- กระดูกแอ่งถุงน้ำตา (Lacrimal bone)
- กระดูกขากรรไกรบน (Maxilla)
- กระดูกจมูก (Nasal bone)
- กระดูกเพดานปาก (Palatine bone)
- กระดูกโวเมอร์ (Vomer)
- กระดูกโหนกแก้ม (Zygomatic bone)
คำว่า "cranium" ในบางครั้งอาจแปลได้เหมือนคำว่า กะโหลกศีรษะ (skull) [6] บางครั้งอาจหมายถึงกระดูกกะโหลกศีรษะทั้งหมดยกเว้นกระดูกขากรรไกรล่าง (mandible) [7]
คำว่า นิวโรเครเนียม (neurocranium) หรือกล่องสมอง (brain box[8] or "braincase"[7]) อาจใช้หมายถึงส่วนของกะโหลกศีรษะที่หุ้มสมอง ซึ่งมีความหมายใกล้เคียงที่สุดกับความหมายเดิมของกระดูกหุ้มสมอง)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Sadler, Thomas W. (February 2009). Langman's Medical Embryology. Lippincott Williams & Wilkins. p. 173. ISBN 0781790697.
- ↑ "Skeletal System / Divisions of the Skeleton". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-14. สืบค้นเมื่อ 2008-04-16.
- ↑ "The Skull - Gray's Anatomy of the Human Body - Yahoo! Education". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-25. สืบค้นเมื่อ 2008-02-07.
- ↑ o_07/12598238 จาก Dorland's Medical Dictionary (อังกฤษ)
- ↑ "Definition: bones of skull from Online Medical Dictionary". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-03-23. สืบค้นเมื่อ 2008-04-16.
- ↑ Cranium จากเว็บไซต์ eMedicine Dictionary
- ↑ 7.0 7.1 "Dept of Anth: Module Glossary". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-11. สืบค้นเมื่อ 2008-04-16.
- ↑ n_06/12568362 จาก Dorland's Medical Dictionary (อังกฤษ)