ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
}}
}}


'''หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา''' ([[27 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2401]] - [[26 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2479]]) เกิดเมื่อวันเสาร์ แรม 7 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 เป็นธิดาคนที่ 2 ของ [[เจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)]] (บุตรของ[[หลวงอาสาสำแดง (แตง)]] และ[[ท้าวสุจริตธำรง (นาค)]]) และคุณหญิงตาด (ธิดาพระยาราชสงคราม (ทองอิน))
'''หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา''' ([[27 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2401]] - [[26 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2479]]) เกิดเมื่อวันเสาร์ แรม 7 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 เป็นธิดาคนที่ 2 ของ [[เจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)]] (บุตรของ[[หลวงอาสาสำแดง (แตง)]] และ[[ท้าวสุจริตธำรง (นาค)]]) และคุณหญิงตาด (ธิดาพระยาราชสงคราม (ทองอิน))เป็นพระปัยยิกา ใน [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]


== บุตร-ธิดาแก้ไข ==
ในปี [[พ.ศ. 2419]] [[สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา]] ได้ทรงขอหม่อมใหญ่เพื่อมาเป็นหม่อมใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]] ซึ่งขณะนั้นดำรงยศเป็น '''พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์''' ต่อมาปี [[พ.ศ. 2436]] เกิด[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112]] พระบรมวงศานุวงศ์และชนชั้นสูงของสังคมได้ร่วมกันจัดตั้ง[[สภากาชาดไทย|สภาอุณาโลมแดง]] หม่อมใหญ่ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการิณีด้วย <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2436/013/151_1.PDF ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2436 ]</ref>
ในปี [[พ.ศ. 2419]] [[สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา]] ได้ทรงขอหม่อมใหญ่เพื่อมาเป็นหม่อมใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]] ซึ่งขณะนั้นดำรงยศเป็น '''พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์''' ต่อมาปี [[พ.ศ. 2436]] เกิด[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112]] พระบรมวงศานุวงศ์และชนชั้นสูงของสังคมได้ร่วมกันจัดตั้ง[[สภากาชาดไทย|สภาอุณาโลมแดง]] หม่อมใหญ่ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการิณีด้วย <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2436/013/151_1.PDF ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2436 ]</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:14, 1 สิงหาคม 2562

หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา
ไฟล์:เทวะวงศ์วโรปการ-ใหญ่ เทวกุล.jpg
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ และหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา
เกิดใหญ่ สุจริตกุล
27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401
เสียชีวิต26 มิถุนายน พ.ศ. 2479 (78 ปี)
คู่สมรสสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
บุตร11 พระองค์
บิดามารดาเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)
คุณหญิงตาด ศิริรัตนมนตรี

หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2479) เกิดเมื่อวันเสาร์ แรม 7 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 เป็นธิดาคนที่ 2 ของ เจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล) (บุตรของหลวงอาสาสำแดง (แตง) และท้าวสุจริตธำรง (นาค)) และคุณหญิงตาด (ธิดาพระยาราชสงคราม (ทองอิน))เป็นพระปัยยิกา ใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

บุตร-ธิดาแก้ไข

ในปี พ.ศ. 2419 สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ได้ทรงขอหม่อมใหญ่เพื่อมาเป็นหม่อมในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ซึ่งขณะนั้นดำรงยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ ต่อมาปี พ.ศ. 2436 เกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 พระบรมวงศานุวงศ์และชนชั้นสูงของสังคมได้ร่วมกันจัดตั้งสภาอุณาโลมแดง หม่อมใหญ่ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการิณีด้วย [1]

หม่อมใหญ่มีโอรส-ธิดากับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ 11 พระองค์ ได้แก่

  1. หม่อมเจ้าอัปสรสมาน เทวกุล (พ.ศ. 2420 - พ.ศ. 2482) เสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
  2. หม่อมเจ้าบรรสานสนิท เทวกุล (พ.ศ. 2422 - พ.ศ. 2488)
  3. หม่อมเจ้าพิจิตรจิราภา เทวกุล (พ.ศ. 2424 - พ.ศ. 2486)
  4. หม่อมเจ้าสุธาสิโนทัย เทวกุล (พ.ศ. 2425 - พ.ศ. 2509) เสกสมรสกับ หม่อมลมุล สาทรานนท์ และหม่อมฉวี วัชรประหาส
  5. หม่อมเจ้าจันทรนิภา เทวกุล (พ.ศ. 2427 - พ.ศ. 2488)
  6. หม่อมเจ้าพงศ์ทินเทพ เทวกุล (พ.ศ. 2429 - พ.ศ. 2486) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าหญิงสุชาดามณี เทวกุล
  7. หม่อมเจ้าทิพรัตนประภา เทวกุล (พ.ศ. 2431-2508)
  8. หม่อมเจ้าวงศ์นิรชร เทวกุล (พ.ศ. 2432 - พ.ศ. 2490) เสกสมรสกับ หม่อมโกย เกิดสวัสดิ์
  9. หม่อมเจ้าดาราจรัสศรี เทวกุล (พ.ศ. 2435 - พ.ศ. 2484)
  10. หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล (พ.ศ. 2439 - พ.ศ. 2505) เสกสมรสกับ หม่อมมณี หม่อมเจ้าหญิงบันดาลสวัสดี ดิศกุล หม่อมแบบ และ หม่อมแวว
  11. หม่อมเจ้าอนันตนรไชย เทวกุล (พ.ศ. 2441-2511) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าหญิงอัปภัศราภา ดิศกุล

หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2479 อายุ 78 ปี 8 เดือน ณ วังเทเวศร์ ได้รับพระราชทานโกศแปดเหลี่ยม บรรจุศพ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2436
  2. "พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัตยุบัน ฝ่ายใน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 25 (39): 1154. 23 ธันวาคม พ.ศ. 2451. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  3. "พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัตยุบัน ฝ่ายใน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 27 (0ง): 3100. 19 มีนาคม พ.ศ. 2453. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ฝ่ายใน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 43 (0ง): 3118. 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

หนังสือ

  • เล็ก พงษ์สมัครไทย. พระญาติ ราชสกุลกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง, พ.ศ. 2549. 160 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-9687-35-3