ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนกรุงธนบุรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Oum13928 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
|length_round=
|length_round=
|length_ref=
|length_ref=
|established=พ.ศ. 2522
|established=พ.ศ. 2525
|allocation=
|allocation=
|direction_a=ตะวันออก
|direction_a=ตะวันออก
|terminus_a=[[สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช|สะพานตากสิน]], [[ถนนเจริญนคร|ถ.เจริญนคร]] ใน [[เขตธนบุรี]] [[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯ]]
|terminus_a=[[สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]], [[ถนนเจริญนคร]] ใน [[เขตคลองสาน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|junction=
|junction=
|direction_b=ตะวันตก
|direction_b=ตะวันตก
|terminus_b=[[ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน|ถ.ตากสิน]], [[ถนนราชพฤกษ์|ถ.ราชพฤกษ์]] ใน [[เขตธนบุรี]] [[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯ]]
|terminus_b=[[ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน]], [[ถนนราชพฤกษ์]] ใน [[เขตธนบุรี]] [[กรุงเทพมหานคร]]
}}
}}


บรรทัด 19: บรรทัด 19:
'''ถนนกรุงธนบุรี''' ({{lang-roman|Thanon Krung Thon Buri}}) เป็นถนนที่สร้างขึ้นพร้อมกับการก่อสร้าง[[สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ในช่วงปี พ.ศ. 2522 - 2525 โดยสร้างเชื่อมต่อกับสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโดยตรง จุดเริ่มต้นอยู่ที่[[แยกตากสิน]] ตัดกับ[[ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน]]และ[[ถนนราชพฤกษ์]] ในพื้นที่[[เขตธนบุรี]] [[กรุงเทพมหานคร]] จากนั้นตรงไปทางทิศตะวันออก ข้าม[[คลองบางไส้ไก่]] เข้าสู่พื้นที่[[เขตคลองสาน]] มีขนาด 8 - 12 ช่องจราจร โดยมีทางคู่ขนานตลอด 2 ฝั่งของถนน ช่องทางหลักเชื่อมต่อกับสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ส่วนทางคู่ขนานทั้ง 2 ฝั่งไปสิ้นสุดที่[[ถนนเจริญนคร]]ซึ่งลอดใต้สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในลักษณะทางต่างระดับ ซึ่งสามารถเปลี่ยนเส้นทางจากถนนเจริญนครไปใช้ถนนกรุงธนบุรีและสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้
'''ถนนกรุงธนบุรี''' ({{lang-roman|Thanon Krung Thon Buri}}) เป็นถนนที่สร้างขึ้นพร้อมกับการก่อสร้าง[[สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ในช่วงปี พ.ศ. 2522 - 2525 โดยสร้างเชื่อมต่อกับสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโดยตรง จุดเริ่มต้นอยู่ที่[[แยกตากสิน]] ตัดกับ[[ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน]]และ[[ถนนราชพฤกษ์]] ในพื้นที่[[เขตธนบุรี]] [[กรุงเทพมหานคร]] จากนั้นตรงไปทางทิศตะวันออก ข้าม[[คลองบางไส้ไก่]] เข้าสู่พื้นที่[[เขตคลองสาน]] มีขนาด 8 - 12 ช่องจราจร โดยมีทางคู่ขนานตลอด 2 ฝั่งของถนน ช่องทางหลักเชื่อมต่อกับสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ส่วนทางคู่ขนานทั้ง 2 ฝั่งไปสิ้นสุดที่[[ถนนเจริญนคร]]ซึ่งลอดใต้สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในลักษณะทางต่างระดับ ซึ่งสามารถเปลี่ยนเส้นทางจากถนนเจริญนครไปใช้ถนนกรุงธนบุรีและสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้


ถนนสายนี้เป็นที่ตั้งของ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม]] [[สถานีกรุงธนบุรี]] และ[[สถานีวงเวียนใหญ่]]
ถนนสายนี้เป็นที่ตั้งของ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม]] [[สถานีกรุงธนบุรี]] และ[[สถานีวงเวียนใหญ่]] และปัจจุบันกำลังมีโครงการก่อสร้าง[[รถไฟฟ้าสายสีทอง]] สถานีกรุงธนบุรี โดยสถานีนี้เชื่อมต่อกับสถานีกรุงธนบุรีของรถไฟฟ้าบีทีเอสโดยตรง


[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:09, 12 มีนาคม 2562

ถนนกรุงธนบุรี
ข้อมูลของเส้นทาง
มีขึ้นเมื่อพ.ศ. 2525–ปัจจุบัน
ทางแยกที่สำคัญ
ปลายทางทิศตะวันออกสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, ถนนเจริญนคร ใน เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร
ปลายทางทิศตะวันตกถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน, ถนนราชพฤกษ์ ใน เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
ถนนกรุงธนบุรีและสถานีวงเวียนใหญ่

ถนนกรุงธนบุรี (อักษรโรมัน: Thanon Krung Thon Buri) เป็นถนนที่สร้างขึ้นพร้อมกับการก่อสร้างสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในช่วงปี พ.ศ. 2522 - 2525 โดยสร้างเชื่อมต่อกับสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโดยตรง จุดเริ่มต้นอยู่ที่แยกตากสิน ตัดกับถนนสมเด็จพระเจ้าตากสินและถนนราชพฤกษ์ ในพื้นที่เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จากนั้นตรงไปทางทิศตะวันออก ข้ามคลองบางไส้ไก่ เข้าสู่พื้นที่เขตคลองสาน มีขนาด 8 - 12 ช่องจราจร โดยมีทางคู่ขนานตลอด 2 ฝั่งของถนน ช่องทางหลักเชื่อมต่อกับสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ส่วนทางคู่ขนานทั้ง 2 ฝั่งไปสิ้นสุดที่ถนนเจริญนครซึ่งลอดใต้สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในลักษณะทางต่างระดับ ซึ่งสามารถเปลี่ยนเส้นทางจากถนนเจริญนครไปใช้ถนนกรุงธนบุรีและสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้

ถนนสายนี้เป็นที่ตั้งของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีกรุงธนบุรี และสถานีวงเวียนใหญ่ และปัจจุบันกำลังมีโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีทอง สถานีกรุงธนบุรี โดยสถานีนี้เชื่อมต่อกับสถานีกรุงธนบุรีของรถไฟฟ้าบีทีเอสโดยตรง