ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Mr.Big Bean/กระบะทราย c"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.Big Bean (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mr.Big Bean (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
ในช่วงเวลานั้นคณะเสนาธิการกังวลว่าถึงจำนวนกองทัพโซเวียตที่ในช่วงท้ายสงครามอีกทั้งผู้นำโซเวียต[[โจเซฟ สตาลิน]]ดูเป็นคนที่ไม่น่าเชื่อถือสิ่งเหล่านี้ซึ่งอาจเป็นภัยคุกคามต่อยุโรปตะวันตกได้ ในช่วงสหภาพโซเวียตกับญี่ปุ่นยังอยู่ใน[[กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น|สนธิสัญญาไม่รุกรานกัน]]นั้นสมมติฐานหนึ่งรายงานว่าสหภาพโซเวียตอาจจะเป็นพันธมิตรร่วมรบกับญี่ปุ่นในกรณีที่ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียต
ในช่วงเวลานั้นคณะเสนาธิการกังวลว่าถึงจำนวนกองทัพโซเวียตที่ในช่วงท้ายสงครามอีกทั้งผู้นำโซเวียต[[โจเซฟ สตาลิน]]ดูเป็นคนที่ไม่น่าเชื่อถือสิ่งเหล่านี้ซึ่งอาจเป็นภัยคุกคามต่อยุโรปตะวันตกได้ ในช่วงสหภาพโซเวียตกับญี่ปุ่นยังอยู่ใน[[กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น|สนธิสัญญาไม่รุกรานกัน]]นั้นสมมติฐานหนึ่งรายงานว่าสหภาพโซเวียตอาจจะเป็นพันธมิตรร่วมรบกับญี่ปุ่นในกรณีที่ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียต


ปฏิบัติการเริ่มต้นของการบุกสหภาพโซเวียตของสัมพันธมิตรในยุโรปมีกำหนดการวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ซึ่งเป็นสี่วันก่อนการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร<ref name="Reynolds-250"/>ตามแผนการทหารอังกฤษและอเมริกัน กว่า 47 กองพล จากทั้งหมด 100 กองพลของอังกฤษ อเมริกันและแคนาดาที่ประจำการในเวลานั้น จะเจาะแนวรบตรงกลางของกองทัพแดงบริเวณเมือง[[เดรสเดน]]และโดยรอบ<ref name="Reynolds-250"/> และศึกนี้จะเป็นการร่วมกันเข้าตีของทหารเยอรมันกว่า 1 แสนนาย ซึ่งได้รับการสนับสนุนอาวุธเป็นที่เรียบร้อย โดยจะเข้าทำการโจมตีที่ตั้งหน่วยทหารโซเวียตทั่วทุกหัวเมืองใหญ่ของเยอรมัน ร่วมถึงโน้มน้าวให้ชาวโปแลนด์ที่อต่ต้านโซเวียตเข้ามามีส่วนร่วมด้วย และประสานการโจมตีจากกองทัพโปแลนด์พลัดถิ่นด้วยเช่นกัน ในปฏิบัติการต้องทำการรุกอย่างรวดเร็วก่อนถึงฤดูหนาวเพราะเมื่อถึงฤดูหนาวจะทำให้สงครามยืดเยื้อจนเกิดความสูญเสียมหาศาล แผนดังกล่าวถูกนำโดยคณะเสนาธิการของอังกฤษจากนำเนื่องจากไม่สามารถให้ความช่วยเหลือทางทหารได้เนื่องจากคาดว่าจะมีความเหนือกว่าถึง 2.5 ถึง 1 ในหน่วยงานของกองกำลังโซเวียตในยุโรปและตะวันออกกลางภายในวันที่ 1 กรกฎาคมซึ่งคาดว่าจะเกิดความขัดแย้งขึ้น
ปฏิบัติการเริ่มต้นของการบุกสหภาพโซเวียตของสัมพันธมิตรในยุโรปมีกำหนดการวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ซึ่งเป็นสี่วันก่อนการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร<ref name="Reynolds-250"/>


==แผนการเชิงป้องกัน==
==แผนการเชิงป้องกัน==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:46, 14 ธันวาคม 2560

"ปฏิบัติการอันธิงคเบิล"
ส่วนหนึ่งของ สงครามเย็น

กองทัพพันธมิตรในยุโรปกลางเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2488
วันที่1 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 (ตามแผน)[1]
สถานที่
ยุโรป,ชายแดนระหว่างเขตการควบคุมของฝ่ายสัมพันธมิตรกับเขตการควบคุมของสหภาพโซเวียต
ผล ไม่มีการสู้รบกัน
*แผนไม่ได้รับการอนุมัติ
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ไม่มีการเปลียนแปลงดินแดน
คู่สงคราม
 บริเตนใหญ่
แคนาดา
 สหรัฐ
 ฝรั่งเศส
เขตยึดครองเยอรมนีของสัมพันธมิตร
สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
สหภาพโซเวียตเขตยึดครองเยอรมนีของสหภาพโซเวียต
โปแลนด์ โปแลนด์
เชโกสโลวาเกียเชโกสโลวาเกีย
สหพันธ์ประชาธิปไตยยูโกสลาเวียยูโกสลาเวีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักรวินสตัน เชอร์ชิลล์
สหราชอาณาจักรเบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี
William Lyon Mackenzie King
สหรัฐแฮร์รี เอส. ทรูแมน
สหรัฐดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์
ฝรั่งเศสชาร์ล เดอ โกล
ฝรั่งเศสJean de Lattre de Tassigny
สหภาพโซเวียตโจเซฟ สตาลิน
สหภาพโซเวียตเกออร์กี จูคอฟ
โปแลนด์บอเลสวัฟ บีแยรุต
เชโกสโลวาเกียEdvard Beneš
สหพันธ์ประชาธิปไตยยูโกสลาเวียยอซีป บรอซ ตีโต

ปฏิบัติการเหนือความคาดหมาย หรือ ปฏิบัติการอันธิงคเบิล (อังกฤษ: Operation Unthinkable) เป็นชื่อรหัสของทั้งสองแผนของพันธมิตรตะวันตก โดยแผนดังกล่าวได้รับคำสั่งจากนายกรัฐมนตรีอังกฤษวินสตัน เชอร์ชิลล์เมื่อปีพ.ศ. 2488 และพัฒนาโดยกองทัพอังกฤษหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในยุโรป

แผนแรกเป็นปฏิบัติการในการโจมตีของกองกำลังโซเวียตที่ประจำการอยู่ในประเทศเยอรมนี เพื่อกำจัดภัยคุกคามของโซเวียตในยุโรปตะวันออกรวมถึงการแก้ไขปัญหาข้อตกลงโปแลนด์[2] (หลังจากไม่ประสบความสำเร็จในการประชุมยัลตา) ต่อมาแผนแรกก็ถูกยกเลิกไป ต่อมารหัสนี้ก็ถูกนำมาใช้ในแผนที่สองว่าถึงการที่สหรัฐได้ถอนทัพออกยุโรปไปแล้วจากรุกรานของโซเวียต ทำให้อังกฤษจต้องตั้งรับป้องกันทางเหนือทะเลและมหาสมุทรแอตแลนติกจากภัยยคุกคามของโซเวียต

ปฏิบัติการอันธิงคเบิล นับป็นปฏิบัติการแรกในช่วงสงครามเย็นที่กล่าวถึงการทำสงครามกับสหภาพโซเวียต[3] ทั้งสองมีแผนถูกเก็บเป็นความลับจนกระทั้งปี พ.ศ. 2541 [4]

ปฏิบัติการการเชิงรุก

เป้าหมายแรกเป็น การพยามการบีบบังคับให้โซเวียตยอมรับและทำตามสัญญาของสหรัฐฯและจักรวรรดิอังกฤษ ในการข้อตกลงเกี่ยวโปแลนด์และการไม่คุมคามในยุโรปตะวันออกจากการประชุมยัลตา

ในช่วงเวลานั้นคณะเสนาธิการกังวลว่าถึงจำนวนกองทัพโซเวียตที่ในช่วงท้ายสงครามอีกทั้งผู้นำโซเวียตโจเซฟ สตาลินดูเป็นคนที่ไม่น่าเชื่อถือสิ่งเหล่านี้ซึ่งอาจเป็นภัยคุกคามต่อยุโรปตะวันตกได้ ในช่วงสหภาพโซเวียตกับญี่ปุ่นยังอยู่ในสนธิสัญญาไม่รุกรานกันนั้นสมมติฐานหนึ่งรายงานว่าสหภาพโซเวียตอาจจะเป็นพันธมิตรร่วมรบกับญี่ปุ่นในกรณีที่ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียต

ปฏิบัติการเริ่มต้นของการบุกสหภาพโซเวียตของสัมพันธมิตรในยุโรปมีกำหนดการวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ซึ่งเป็นสี่วันก่อนการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร[1]ตามแผนการทหารอังกฤษและอเมริกัน กว่า 47 กองพล จากทั้งหมด 100 กองพลของอังกฤษ อเมริกันและแคนาดาที่ประจำการในเวลานั้น จะเจาะแนวรบตรงกลางของกองทัพแดงบริเวณเมืองเดรสเดนและโดยรอบ[1] และศึกนี้จะเป็นการร่วมกันเข้าตีของทหารเยอรมันกว่า 1 แสนนาย ซึ่งได้รับการสนับสนุนอาวุธเป็นที่เรียบร้อย โดยจะเข้าทำการโจมตีที่ตั้งหน่วยทหารโซเวียตทั่วทุกหัวเมืองใหญ่ของเยอรมัน ร่วมถึงโน้มน้าวให้ชาวโปแลนด์ที่อต่ต้านโซเวียตเข้ามามีส่วนร่วมด้วย และประสานการโจมตีจากกองทัพโปแลนด์พลัดถิ่นด้วยเช่นกัน ในปฏิบัติการต้องทำการรุกอย่างรวดเร็วก่อนถึงฤดูหนาวเพราะเมื่อถึงฤดูหนาวจะทำให้สงครามยืดเยื้อจนเกิดความสูญเสียมหาศาล แผนดังกล่าวถูกนำโดยคณะเสนาธิการของอังกฤษจากนำเนื่องจากไม่สามารถให้ความช่วยเหลือทางทหารได้เนื่องจากคาดว่าจะมีความเหนือกว่าถึง 2.5 ถึง 1 ในหน่วยงานของกองกำลังโซเวียตในยุโรปและตะวันออกกลางภายในวันที่ 1 กรกฎาคมซึ่งคาดว่าจะเกิดความขัดแย้งขึ้น

แผนการเชิงป้องกัน

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 Reynolds, p. 250
  2. Operation Unthinkable..., p. 1 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เก็บถาวร 16 พฤศจิกายน 2010)
  3. Costigliola, p. 336
  4. Gibbons, p. 158

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "OpRep-30" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "OpRep-24" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "OpRep-35" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า