ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปืนใหญ่ลำกล้อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
สุขพินทุ (คุย | ส่วนร่วม)
th
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Phỵā tānī.jpg|thumb|250px|ภาพถ่าย[[ปืนพญาตานี|ปืนใหญ่นางพญาตานี]] [[กระทรวงกลาโหม|ตึกกระทรวงกลาโหม]]]]
[[ไฟล์:British 39th Siege Battery RGA Somme 1916.jpg|thumb|250px|ทหารอังกฤษทำการยิงปืนใหญ่ [[:en:BL_8_inch_Howitzer_Mk_1_-_5|BL 8-Inch Howitzer]] ถล่มข้าศึกใน[[สมรภูมิแม่น้ำซอมม์]] สมัย[[สงครามโลกครั้งที่ 1]]]]
'''ปืนใหญ่''' หมายถึง [[อาวุธปืน]]ที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิง[[หัวกระสุน]]ด้วยแรงดันจากการเผาไหม้[[ดินส่งกระสุน]]ให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนว[[วิถีราบ]]หรือ[[วิถีโค้ง]] โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง
'''ปืนใหญ่''' หมายถึง [[อาวุธปืน]]ที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิง[[หัวกระสุน]]ด้วยแรงดันจากการเผาไหม้[[ดินส่งกระสุน]]ให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนว[[วิถีราบ]]หรือ[[วิถีโค้ง]] โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง


== ประเภทของปืนใหญ่ ==
== ประเภทของปืนใหญ่ ==
ปืนใหญ่สามารถแบ่งได้ตามลักษณะต่างๆดังต่อไปนี้
ปืนใหญ่สามารถแบ่งได้ตามลักษณะต่างๆดังต่อไปนี้{{อ้างอิง}}


1. ปืนทองเหลือง
:# ปืนทองเหลือง
2. ปืนสำริด
:# ปืนสำริด
3. ปืนที่ทำจากทองคำ
:# ปืนที่ทำจากทองคำ


== ปืนใหญ่ในประเทศไทย ==
== ปืนใหญ่ในประเทศไทย ==
ปืนใหญ่ใน[[ประเทศไทย]]นั้น ได้ถูกนำมาใช้เป็นเวลาช้านานแล้ว ในหนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย พบหลักฐานว่ามีการใช้ปืนใหญ่สมัยสุโขทัยว่า ชวาเก็บปืนใหญ่ไทย จำนวน 2 กระบอกจากการรบกับพวกมัชฌปาหิต ในสงครามตีเมืองชวาประมาณ พ.ศ. 1857 มีบันทึกใน[[พงศาวดาร|พระราชพงศาวดาร]]ว่าในสมัย[[สมเด็จพระราเมศวร]] กองทัพ[[อยุธยา]]ใช้ปืนใหญ่ยิงกำแพงเมืองเชียงใหม่พังไป 6 วา<ref name="ปืนใหญ่โบราณ1">{{cite web |url=http://au.youtube.com/watch?v=AgzgR95P8Fs |title=ปืนใหญ่โบราณ ตำนานแห่งแสนยานุภาพ (1/2) |accessdate=21 November 2008 |work= |publisher=True Film Asia|date= }}</ref> และในกฎหมายสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] ก็มีการกล่าวถึงหน่วยทหารปืนใหญ่เช่นกัน<ref name="ปืนใหญ่โบราณ1"/> และต่อมา หลังจากที่[[โปรตุเกส]]เดินทางเข้ามาถึง[[กรุงศรีอยุธยา]]ในสมัย[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2]] ก็เริ่มมีการซื้อปืนใหญ่ของโปรตุเกสเข้ามาประจำการในกองทัพไทย
ปืนใหญ่ใน[[ประเทศไทย]]นั้น ได้ถูกนำมาใช้เป็นเวลาช้านานแล้ว ในหนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย พบหลักฐานว่ามีการใช้ปืนใหญ่สมัยสุโขทัยว่า ชวาเก็บปืนใหญ่ไทย จำนวน 2 กระบอกจากการรบกับพวกมัชฌปาหิต ในสงครามตีเมืองชวาประมาณ พ.ศ. 1857 มีบันทึกใน[[พงศาวดาร|พระราชพงศาวดาร]]<ref>[http://th.wikisource.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9%3A%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B2&profile=default&search=%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87+%E0%B9%95+%E0%B8%A7%E0%B8%B2&fulltext=Search พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม ศักราช ๗๔๖ ปีชวด ฉศก]</ref>ว่าในสมัย[[สมเด็จพระราเมศวร]] กองทัพ[[อยุธยา]]ใช้ปืนใหญ่ยิงกำแพงเมืองเชียงใหม่พังไป 5-6 ช่วงคน<ref>[https://sites.google.com/site/wikiscruple/shooter ข้อมูลโดยพิพิธภัณฑ์ทหารเรือ ว่า 5 วา &nbsp;]</ref><ref name="ปืนใหญ่โบราณ1">{{cite web |url=http://au.youtube.com/watch?v=AgzgR95P8Fs |title=ปืนใหญ่โบราณ ตำนานแห่งแสนยานุภาพ (1/2) |accessdate=21 November 2008 |work= |publisher=True Film Asia|date= }}</ref> และในกฎหมายสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] ก็มีการกล่าวถึงหน่วยทหารปืนใหญ่เช่นกัน<ref name="ปืนใหญ่โบราณ1"/> และต่อมา หลังจากที่[[โปรตุเกส]]เดินทางเข้ามาถึง[[กรุงศรีอยุธยา]]ในสมัย[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2]] ก็เริ่มมีการซื้อปืนใหญ่ของโปรตุเกสเข้ามาประจำการในกองทัพไทย


อย่างไรก็ตาม คุณภาพการหล่อปืนใหญ่ของของไทยนั้น มีคุณภาพดีเป็นที่เลื่องลือมาก [[โชกุน]][[โทะกุงะวะ อิเอะยะสุ]]เคยส่งสารมาทูลขอพระราชทานปืนใหญ่และไม้หอมจาก[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]] นอกจากนี้ ในสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] พระองค์ได้ทรงส่งปืนใหญ่ที่ผลิตในไทยไปถวาย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] 2 กระบอก และได้มีบันทึกต่อมาว่า ปืนสองกระบอกนี้เองได้ถูกใช้[[การโจมตีคุกบาสตีย์|ยิงทลายประตูคุกบาสตีย์]]<ref name="ปืนใหญ่โบราณ1"/> ปัจจุบันปืนคู่นี้ถูกตั้งแสดงใน[[พิพิธภัณฑ์]]ทหารบกฝรั่งเศส<ref name="ปืนใหญ่โบราณ1"/>
อย่างไรก็ตาม คุณภาพการหล่อปืนใหญ่ของของไทยนั้น มีคุณภาพดีเป็นที่เลื่องลือมาก [[โชกุน]][[โทะกุงะวะ อิเอะยะสุ]]เคยส่งสารมาทูลขอพระราชทานปืนใหญ่และไม้หอมจาก[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]] นอกจากนี้ ในสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] พระองค์ได้ทรงส่งปืนใหญ่ที่ผลิตในไทยไปถวาย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] 2 กระบอก และได้มีบันทึกต่อมาว่า ปืนสองกระบอกนี้เองได้ถูกใช้[[การโจมตีคุกบาสตีย์|ยิงทลายประตูคุกบาสตีย์]]<ref name="ปืนใหญ่โบราณ1"/> ปัจจุบันปืนคู่นี้ถูกตั้งแสดงใน[[พิพิธภัณฑ์]]ทหารบกฝรั่งเศส<ref name="ปืนใหญ่โบราณ1"/>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:58, 13 สิงหาคม 2557

ไฟล์:Phỵā tānī.jpg
ภาพถ่ายปืนใหญ่นางพญาตานี ตึกกระทรวงกลาโหม

ปืนใหญ่ หมายถึง อาวุธปืนที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิงหัวกระสุนด้วยแรงดันจากการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนววิถีราบหรือวิถีโค้ง โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง

ประเภทของปืนใหญ่

ปืนใหญ่สามารถแบ่งได้ตามลักษณะต่างๆดังต่อไปนี้[ต้องการอ้างอิง]

  1. ปืนทองเหลือง
  2. ปืนสำริด
  3. ปืนที่ทำจากทองคำ

ปืนใหญ่ในประเทศไทย

ปืนใหญ่ในประเทศไทยนั้น ได้ถูกนำมาใช้เป็นเวลาช้านานแล้ว ในหนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย พบหลักฐานว่ามีการใช้ปืนใหญ่สมัยสุโขทัยว่า ชวาเก็บปืนใหญ่ไทย จำนวน 2 กระบอกจากการรบกับพวกมัชฌปาหิต ในสงครามตีเมืองชวาประมาณ พ.ศ. 1857 มีบันทึกในพระราชพงศาวดาร[1]ว่าในสมัยสมเด็จพระราเมศวร กองทัพอยุธยาใช้ปืนใหญ่ยิงกำแพงเมืองเชียงใหม่พังไป 5-6 ช่วงคน[2][3] และในกฎหมายสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ก็มีการกล่าวถึงหน่วยทหารปืนใหญ่เช่นกัน[3] และต่อมา หลังจากที่โปรตุเกสเดินทางเข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ก็เริ่มมีการซื้อปืนใหญ่ของโปรตุเกสเข้ามาประจำการในกองทัพไทย

อย่างไรก็ตาม คุณภาพการหล่อปืนใหญ่ของของไทยนั้น มีคุณภาพดีเป็นที่เลื่องลือมาก โชกุนโทะกุงะวะ อิเอะยะสุเคยส่งสารมาทูลขอพระราชทานปืนใหญ่และไม้หอมจากสมเด็จพระเอกาทศรถ นอกจากนี้ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์ได้ทรงส่งปืนใหญ่ที่ผลิตในไทยไปถวายพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 2 กระบอก และได้มีบันทึกต่อมาว่า ปืนสองกระบอกนี้เองได้ถูกใช้ยิงทลายประตูคุกบาสตีย์[3] ปัจจุบันปืนคู่นี้ถูกตั้งแสดงในพิพิธภัณฑ์ทหารบกฝรั่งเศส[3]

วิธีการทำปืนใหญ่

อ้างอิง

  1. พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม ศักราช ๗๔๖ ปีชวด ฉศก
  2. ข้อมูลโดยพิพิธภัณฑ์ทหารเรือ ว่า 5 วา  
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 "ปืนใหญ่โบราณ ตำนานแห่งแสนยานุภาพ (1/2)". True Film Asia. สืบค้นเมื่อ 21 November 2008.

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA