ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเติร์กเมน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: udm:Туркмен кыл
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
ภาษาเติร์กเมนเขียนโดยใช้[[อักษรซีริลลิก]]หรือ[[อักษรอาหรับ]]ด้วย อย่างไรก็ดี ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประธานาธิบดี[[ซาปาร์มูรัต นิยาซอฟ]] ได้ประกาศให้เขียนภาษาติร์กเมนโดยใช้[[อักษรโรมัน]]ที่ได้รับการดัดแปลง
ภาษาเติร์กเมนเขียนโดยใช้[[อักษรซีริลลิก]]หรือ[[อักษรอาหรับ]]ด้วย อย่างไรก็ดี ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประธานาธิบดี[[ซาปาร์มูรัต นิยาซอฟ]] ได้ประกาศให้เขียนภาษาติร์กเมนโดยใช้[[อักษรโรมัน]]ที่ได้รับการดัดแปลง


== การจัดจำแนก ภาษาที่เกี่ยวข้องและสำเนียง ==
ภาษาเติร์กเมนเป็นภาษาในกลุ่มภาษาเตอร์กิก อยู่ในกลุ่มย่อยเตอร์กิกตะวันออก กลุ่มโอคุซตะวันออก ซึ่งกลุ่มนี้ได้รวม[[ภาษาเติร์กโคซารานี]]ด้วย ภาษาเติร์กเมนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[ภาษาตาตาร์ไครเมีย]]และ[[ภาษาซาลาร์]]และใกล้เคียงกับ[[ภาษาตุรกี]]และ[[ภาษาอาเซอร์ไบจาน]]

ภาษาเติร์กเมนเป็นภาษาที่มีการเปลี่ยนเสียงสระ เป็นภาษารูปคำติดต่อและไม่มีการแบ่งเพศทางไวยากรณ์และไม่มีกริยาอปกติ การเรียงลำดับคำในประโยคเป็นประธาน-กรรม-กริยา การเขียนของภาษาเติร์กเมนใช้ตามสำเนียงโยมุด และยังมีสำเนียงอื่นๆอีกมาก สำเนียงเตเกมักจะถูกอ้างว่าเป็น[[ภาษาชะกะไต]]โดยเฉพาะในอัฟกานิสถาน แต่ภาษาเติร์กเมนทุกสำเนียงได้รับอิทธิพลจากภาษาชะกะไตไม่มากนัก

== ระบบการเขียน ==
อย่างเป็นทางการ ภาษาเติร์กเมนในปัจจุบันเขียนด้วยอักษรใหม่หรืออักษรละติน อย่างไรก็ตาม อักษรยุคเก่าหรืออักษรซีริลลิกยังคงใช้อยู่ พรรคการเมืองหลายพรรคที่ต่อต้านนโยบายของประธานาธิบดีนิกาเยฟยังคงใช้อักษรซีริลลิกในเว็บไซต์และสื่อสิ่งพิมพ์

ก่อน พ.ศ. 2472 ภาษาเติร์กเมนเคยเขียนด้วยอักษรอาหรับดัดแปลง ใน พ.ศ. 2472 - 2481 เปลี่ยนมาใช้อักษรละติน แล้วจึงเปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิกในช่วง พ.ศ. 2481 - 2534 แล้วจึงเปลี่ยนมาใช้อักษรละตินที่ใช้ในปัจจุบัน

== เสียง ==
===สระ===
{|class="wikitable" style="text-align:center;"
!
!colspan=2 | [[สระหน้า]]
!colspan=2 | สระหลัง]]
|- style="vertical-align: center; font-size: x-small; height: 3em"
| style="font-size: 90%;"|
!ไม่ห่อลิ้น
!ห่อลิ้น
!ไม่ห่อลิ้น
!ห่อลิ้น
|-
![[Close vowel|Close]]
|i/и {{IPA|[i]}}
|ü/ү {{IPA|[y]}} üý/үй {{IPA|[yː]}}
|y/ы {{IPA|[ɯ]}}
|u/у {{IPA|[u]}}
|-
![[Mid vowel|Mid]]
|e/е {{IPA|[e]}}
|ö/ө {{IPA|[ø]}}
|
|o/о {{IPA|[o]}}
|-
|[[Open vowel|Open]]
|ä/ә {{IPA|[æː]}}
|
|a/а {{IPA|[a]}}<small><sup>1</sup></small>
|
|-
|}
====พยัญชนะ====
{| class="wikitable" style="text-align:center;"
!
![[bilabial consonant|Bilabial]]
![[dental consonant|Dental/<br>alveolar]]
![[postalveolar consonant|Post-<br>alveolar]]
![[palatal consonant|Palatal]]
![[velar consonant|Velar]]/<br>[[uvular consonant|uvular]]
![[glottal consonant|Glottal]]
|-
|plosive
|p b<br>п б<br>{{IPA|[p] [b]}}
|t d<br>т д<br>{{IPA|[t̪] [d̪]}}
|
|
|k g<br>к г<br> {{IPA|[k]/[q] [ɡ]/[ʁ]}}
|
|-
|nasal
|m<br>м<br> {{IPA|[m]}}
|n<br>н<br> {{IPA|[n]}}
|
|
|ň<br>ң<br> {{IPA|[ŋ]}}
|
|-
|trill
|
|r<br>р<br>{{IPA|[r]}}
|
|
|
|
|-
|fricative
|f w<br>ф в<br> {{IPA|[ɸ] [β]}}
|s z<br>с з<br> {{IPA|[θ] [ð]}}
|ş ž<br>ш ж<br> {{IPA|[ʃ] [ʒ]}}
|
|colspan=2 | h<br>х<br> {{IPA|[h]/[x]}}
|-
|affricate
|
|
|ç j<br>ч җ<br> {{IPA|[t͡ʃ] [d͡ʒ]}}
|
|
|
|-
|approximant
|
|l<br>л<br> {{IPA|[l]}}
|
|ý<br>й<br> {{IPA|[j]}}
|
|
|-
|}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:35, 7 มีนาคม 2554

ภาษาเติร์กเมน
Türkmen dili
ประเทศที่มีการพูดเติร์กเมนิสถาน อิหร่าน อัฟกานิสถาน ตุรกี (เอเชีย)
จำนวนผู้พูด6 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
อัลไตอิก (เป็นที่ขัดแย้ง)
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการเติร์กเมนิสถาน
รหัสภาษา
ISO 639-1tk
ISO 639-2tuk
ISO 639-3tuk
[[File:
|300px]]

ภาษาเติร์กเมน (Turkmen, Туркмен, ISO 639-1: tk, ISO 639-2: tuk) คือชื่อภาษาราชการของประเทศเติร์กเมนิสถาน. มีคนพูดภาษาเติร์กเมนประมาณ 3,430,000 คนในประเทศเติร์กเมนิสถาน และประมาณ 3,000,000 คนในประเทศอื่น ๆ เช่น ประเทศอิหร่าน (2,000,000) ประเทศอัฟกานิสถาน (500,000) และประเทศตุรกี (1,000)

ภาษาเติร์กเมนอยู่ในตระกูลเตอร์กิก และบางครั้งก็รวมอยู่ในตระกูลที่ใหญ่กว่า คือ ตระกูลอัลไตอิก เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกทางใต้ในกลุ่มเติร์กเมเนียน สัมพันธ์กับภาษาตุรกีไครเมีย (Crimean Turkish) และ ภาษาซาลาร์ (Salar) และสัมพันธ์น้อยกว่ากับภาษาตุรกีและภาษาอาเซอร์ไบจาน

ภาษาเติร์กเมนเขียนโดยใช้อักษรซีริลลิกหรืออักษรอาหรับด้วย อย่างไรก็ดี ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประธานาธิบดีซาปาร์มูรัต นิยาซอฟ ได้ประกาศให้เขียนภาษาติร์กเมนโดยใช้อักษรโรมันที่ได้รับการดัดแปลง

การจัดจำแนก ภาษาที่เกี่ยวข้องและสำเนียง

ภาษาเติร์กเมนเป็นภาษาในกลุ่มภาษาเตอร์กิก อยู่ในกลุ่มย่อยเตอร์กิกตะวันออก กลุ่มโอคุซตะวันออก ซึ่งกลุ่มนี้ได้รวมภาษาเติร์กโคซารานีด้วย ภาษาเติร์กเมนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาตาตาร์ไครเมียและภาษาซาลาร์และใกล้เคียงกับภาษาตุรกีและภาษาอาเซอร์ไบจาน

ภาษาเติร์กเมนเป็นภาษาที่มีการเปลี่ยนเสียงสระ เป็นภาษารูปคำติดต่อและไม่มีการแบ่งเพศทางไวยากรณ์และไม่มีกริยาอปกติ การเรียงลำดับคำในประโยคเป็นประธาน-กรรม-กริยา การเขียนของภาษาเติร์กเมนใช้ตามสำเนียงโยมุด และยังมีสำเนียงอื่นๆอีกมาก สำเนียงเตเกมักจะถูกอ้างว่าเป็นภาษาชะกะไตโดยเฉพาะในอัฟกานิสถาน แต่ภาษาเติร์กเมนทุกสำเนียงได้รับอิทธิพลจากภาษาชะกะไตไม่มากนัก

ระบบการเขียน

อย่างเป็นทางการ ภาษาเติร์กเมนในปัจจุบันเขียนด้วยอักษรใหม่หรืออักษรละติน อย่างไรก็ตาม อักษรยุคเก่าหรืออักษรซีริลลิกยังคงใช้อยู่ พรรคการเมืองหลายพรรคที่ต่อต้านนโยบายของประธานาธิบดีนิกาเยฟยังคงใช้อักษรซีริลลิกในเว็บไซต์และสื่อสิ่งพิมพ์

ก่อน พ.ศ. 2472 ภาษาเติร์กเมนเคยเขียนด้วยอักษรอาหรับดัดแปลง ใน พ.ศ. 2472 - 2481 เปลี่ยนมาใช้อักษรละติน แล้วจึงเปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิกในช่วง พ.ศ. 2481 - 2534 แล้วจึงเปลี่ยนมาใช้อักษรละตินที่ใช้ในปัจจุบัน

เสียง

สระ

สระหน้า สระหลัง]]
ไม่ห่อลิ้น ห่อลิ้น ไม่ห่อลิ้น ห่อลิ้น
Close i/и [i] ü/ү [y] üý/үй [yː] y/ы [ɯ] u/у [u]
Mid e/е [e] ö/ө [ø] o/о [o]
Open ä/ә [æː] a/а [a]1

พยัญชนะ

Bilabial Dental/
alveolar
Post-
alveolar
Palatal Velar/
uvular
Glottal
plosive p b
п б
[p] [b]
t d
т д
[t̪] [d̪]
k g
к г
[k]/[q] [ɡ]/[ʁ]
nasal m
м
[m]
n
н
[n]
ň
ң
[ŋ]
trill r
р
[r]
fricative f w
ф в
[ɸ] [β]
s z
с з
[θ] [ð]
ş ž
ш ж
[ʃ] [ʒ]
h
х
[h]/[x]
affricate ç j
ч җ
[t͡ʃ] [d͡ʒ]
approximant l
л
[l]
ý
й
[j]

แหล่งข้อมูลอื่น