ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุเทน เตชะไพบูลย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''อุเทน เตชะไพบูลย์''' ([[3 มกราคม]] [[พ.ศ. 2456]] - [[24 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2550]]) เป็น[[คนไทยเชื้อสายจีน]]ที่ในสมัยหนึ่งได้ชื่อว่าเป็นมหาเศรษฐีระดับต้นๆของเมืองไทย ผู้ก่อตั้ง[[ธนาคารศรีนคร]] และ[[มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง]]
'''อุเทน เตชะไพบูลย์''' ([[3 มกราคม]] [[พ.ศ. 2456]] - [[24 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2550]]) เป็น[[คนไทยเชื้อสายจีน]]ที่ในสมัยหนึ่งได้ชื่อว่าเป็นมหาเศรษฐีระดับต้นๆของเมืองไทย ผู้ก่อตั้ง[[ธนาคารศรีนคร]] และ[[มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง]]


นายอุเทนเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท [[สุรามหาคุณ]] ที่ได้สัมปทานในการผลิตและจำหน่าย[[สุรา]]ของ[[โรงงานสุราบางยี่ขัน]] ในชื่อ “[[แม่โขง]]” และ “[[กวางทอง]]” เมื่อ พ.ศ. 2502 ก่อนจะสูญเสียธุรกิจนี้ไปจากการพ่ายแพ้การประมูลให้แก่นาย[[เจริญ ศิริวัฒนภักดี]] นอกจากนี้นายอุเทนยังเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท วังเพชรบูรณ์ ผู้ก่อสร้างโครงการเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (ปัจจุบัน คือ [[เซ็นทรัลเวิลด์พลาซ่า]])
นายอุเทนเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท [[สุรามหาคุณ]] ที่ได้สัมปทานในการผลิตและจำหน่าย[[สุรา]]ของ[[โรงงานสุราบางยี่ขัน]] ในชื่อ “[[แม่โขง]]” และ “[[กวางทอง]]” เมื่อ พ.ศ. 2502 ก่อนจะสูญเสียธุรกิจนี้ไปจากการพ่ายแพ้การประมูลให้แก่นาย[[เจริญ สิริวัฒนภักดี]] นอกจากนี้นายอุเทนยังเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท วังเพชรบูรณ์ ผู้ก่อสร้างโครงการเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (ปัจจุบัน คือ [[เซ็นทรัลเวิลด์พลาซ่า]])


นายอุเทน เกิดในตระกูลแต้ คือแซ่แต้ มีบิดาชื่อนายแต้จือปิง (鄭子彬)มารดาชื่อนางไอ๋เหีย (靄霞) โดยก่อนจะเปลี่ยนชื่อเป็น "อุเทน" ได้ใช้ชื่อเดิมว่า "แต้โหง่วเล้า" (鄭午樓)หรือในภาษาจีนกลางออกเสียงว่า "เจิ้งอู่โหลว"
นายอุเทน เกิดในตระกูลแต้ คือแซ่แต้ มีบิดาชื่อนายแต้จือปิง (鄭子彬)มารดาชื่อนางไอ๋เหีย (靄霞) โดยก่อนจะเปลี่ยนชื่อเป็น "อุเทน" ได้ใช้ชื่อเดิมว่า "แต้โหง่วเล้า" (鄭午樓)หรือในภาษาจีนกลางออกเสียงว่า "เจิ้งอู่โหลว"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:16, 1 กันยายน 2553

อุเทน เตชะไพบูลย์ (3 มกราคม พ.ศ. 2456 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) เป็นคนไทยเชื้อสายจีนที่ในสมัยหนึ่งได้ชื่อว่าเป็นมหาเศรษฐีระดับต้นๆของเมืองไทย ผู้ก่อตั้งธนาคารศรีนคร และมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง

นายอุเทนเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท สุรามหาคุณ ที่ได้สัมปทานในการผลิตและจำหน่ายสุราของโรงงานสุราบางยี่ขัน ในชื่อ “แม่โขง” และ “กวางทอง” เมื่อ พ.ศ. 2502 ก่อนจะสูญเสียธุรกิจนี้ไปจากการพ่ายแพ้การประมูลให้แก่นายเจริญ สิริวัฒนภักดี นอกจากนี้นายอุเทนยังเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท วังเพชรบูรณ์ ผู้ก่อสร้างโครงการเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (ปัจจุบัน คือ เซ็นทรัลเวิลด์พลาซ่า)

นายอุเทน เกิดในตระกูลแต้ คือแซ่แต้ มีบิดาชื่อนายแต้จือปิง (鄭子彬)มารดาชื่อนางไอ๋เหีย (靄霞) โดยก่อนจะเปลี่ยนชื่อเป็น "อุเทน" ได้ใช้ชื่อเดิมว่า "แต้โหง่วเล้า" (鄭午樓)หรือในภาษาจีนกลางออกเสียงว่า "เจิ้งอู่โหลว"

การศึกษา

ตำแหน่งงานธุรกิจ

ประธานกิตติมศักดิ์ บริษัท พัฒนาที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมประเทศไทย จำกัด

บริษัท บางปูคันทรีคลับ จำกัด

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำกัด (มหาชน)

บริษัท อุเทนแคปปิตอล จำกัด

ประธานกรรมการ บริษัท ประกันภัยศรีเมือง จำกัด

ตำแหน่งงานสังคม

ประธานกรรมการ มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง

ประธานกิตติมศักดิ์ มูลนิธิอื้อจือเหลียง

กรรมการ สภากาชาดไทย

นายกกิตติมศักดิ์ สภามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

ประธานกรรมการ โรงพยาบาลหัวเฉียว

ประธานกรรมการ มูลนิธิเตชะไพบูลย์

นายกกิตติมศักดิ์ตลอดชีพ ของสมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย

ประธานกิตติมศักดิ์ตลอดชีพ ของหอการค้าไทย-จีน

ประธานกิตติมศักดิ์ กองทุนสงเคราะห์ชุมชนแห่งประเทศไทย

ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ตลอดชีพ โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิฯ

ประธานกิตติมศักดิ์ สมาคมศิษย์เก่าเผยอิง

ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราฯ สยามมกุฏราชกุมาร

ประธานถาวรคณะกรรมการอาวุโส สมาคมเตชะสัมพันธ์

ที่ปรึกษา สมาคมสหประชาชาติแห่งประเทศไทย

ที่ปรึกษาตลอดกาล สถานเด็กกำพร้า

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถานสงเคราะห์คนชราวัยวัฒนานิวาส

กรรมการกิตติมศักดิ์ สโมสรไลอ้อนส์ดุสิต กรุงเทพฯ

กรรมการ มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์

กรรมการ มูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช

สมาชิกกิตติมศักดิ์ สโมสรโรตารี่ธนบุรี

สมาชิก มูลนิธิลูกเสือโลก

ประธานกรรมการ จัดหาทุนสมทบในการซื้อเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์สำหรับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

ประธานกรรมการหาทุน มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ

ประธาน จัดหาข้าวสารเพื่อช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ประชาชนชาวจีนผู้อดอยาก

ประธานกรรมการ หาทุน ฟุตบอล “รักเมืองไทย”

ประธาน หาทุน งานกาชาด

ประธานกรรมการ โรงเรียนเผยอิง

รองประธานกรรมการ จัดการแข่งขันกอล์ฟโดยเสด็จสมทบทุน “ประชาธิปก”

นายก สมาคมพ่อค้าสุราแห่งประเทศไทย

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ในการจัดการแข่งขันกรีฑาในกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 8

กรรมการ ฝ่ายจัดหาทุน งานฉลอง 84 ปีโรงพยาบาลศิริราช

กรรมการ จัดงานพระราชทานเลี้ยงในงานกาชาด

กรรมการอำนวยการ จัดงานกาชาดปี 2507, 2508, 2509, 2510

กรรมการเหรัญญิก สมาคมพาณิชย์จีนแห่งประเทศไทย

กรรมการ สมาคมผู้สูงอายุ

กรรมการ หอการค้าไทย

กรรมการ สภาการฝึกหัดครู

กรรมการ จัดงานฉลองพระชนมายุครบ 80 พรรษา สมเด็จพระสังฆราช

กรรมการที่ปรึกษา มูลนิธิพีระยานุเคราะห์

กรรมการที่ปรึกษา ในการจัดการแข่งขันฟุตบอลการกุศล สมทบทุนอานันทมหิดล เพื่อช่วยเหลือทหาร ตำรวจ ข้าราชการ ที่ปฏิบัติหน้าที่ชายแดน

ที่ปรึกษา สมาคมพ่อค้าไทย

อนุกรรมการ จัดหาทุนก่อสร้างอนุสาวรีย์ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อนุกรรมการ ฝ่ายจัดหารายได้ และรางวัลงาน “วันศึกษาประชาบาล”

อุปนายก สมาคมกอล์ฟแห่งประเทศไทย

กรรมการ โครงการพระดาบส

ประธาน ชมรมวงดนตรีซิมโฟนีกรุงเทพฯ

ประธาน หาทุนสร้างอาคารใหม่ 22 ชั้น โรงพยาบาลหัวเฉียว

อนุกรรมการ จัดหาทุนของมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช

ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ฝ่ายหาทุนมูลนิธิสวนหลวง ร.9

กรรมการ มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล

กรรมการ มูลนิธิไทย-เยอรมัน

กรรมการ มูลนิธิไทยอาสาป้องกันชาติ

กรรมการ มูลนิธิ จอห์น เอฟ เคนเนดี้ แห่งประเทศไทย

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่เคยได้รับ

พ.ศ. 2497 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 4 “จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก”(จ.ช.)

พ.ศ. 2503 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ “ตริตาภรณ์มงกุฏไทย” (ชั้น 3)(ต.ม.)

พ.ศ. 2505 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 3 “ตริตาภรณ์ช้างเผือก” (ต.ช.)

พ.ศ. 2507 รับเหรียญกาชาดสมนาคุณชั้นที่ 1

พ.ศ. 2508 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 2“ทวีติยาภรณ์มงกุฏไทย”( ท.ม.)

พ.ศ. 2511 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 2 “ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก”(ท.ช.)

พ.ศ. 2518 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 “ประถมาภรณ์มงกุฏไทย”(ป.ม.)

พ.ศ. 2522 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 “ประถมาภรณ์ช้างเผือก”(ป.ช.)

พ.ศ. 2527 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ “ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ”(ต.จ.ว.)

พ.ศ. 2533 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ “มหาวชิรมงกุฏ”(ม.ว.ม.)

พ.ศ. 2536 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ “ทุติยจุลจอมเกล้า”(ท.จ.)

พ.ศ. 2538 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด “มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก”(ม.ป.ช.)

พ.ศ. 2539 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 “ปฐมดิเรกคุณาภรณ์”(ป.ภ.)

อ้างอิง