ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฮโจเกียว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Genji1000nenki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ในปี [[พ.ศ. 1250]] (ค.ศ. 707) ได้มีเหตุการณ์ย้ายเมืองหลวง จากฟูจิวะระเคียว ไปสู่เฮโจเคียว ซึ่งเป็นพระราชเสาวนีย์ของ [[พระจักรพรรดิเกนเม]] แต่ก็มีการย้ายไปที่อื่นอีก คือ [[คุนิเกียว]] หรือ [[คุนิโนมิยะ]] หลังจากนั้นอีกไม่นาน ก็ได้กลับมาเป็นเมืองหลวงเหมือนเดิมในปี [[พ.ศ. 1283]] (ค.ศ. 745)
ในปี [[พ.ศ. 1250]] (ค.ศ. 707) ได้มีเหตุการณ์ย้ายเมืองหลวง จากฟูจิวะระเคียว ไปสู่เฮโจเคียว ซึ่งเป็นพระราชเสาวนีย์ของ [[พระจักรพรรดินีเกนเม]] แต่ก็มีการย้ายไปที่อื่นอีก คือ [[คุนิเกียว]] หรือ [[คุนิโนมิยะ]] หลังจากนั้นอีกไม่นาน ก็ได้กลับมาเป็นเมืองหลวงเหมือนเดิมในปี [[พ.ศ. 1283]] (ค.ศ. 745)


== ชื่อที่มา ==
== ชื่อที่มา ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:47, 3 มีนาคม 2552

ประตูซูซากุ ซึ่งรัฐบาลญี่ปุ่นได้ก่อสร้างขึ้นมาใหม่

เฮโจเคียว หรือ เฮเซเคียว(ญี่ปุ่น: 平城京) เป็นเมืองหลวงโบราณของประเทศญี่ปุ่น อีกนัยหนึ่งก็คือเมืองหลวงในยุคนารานั่นเอง ปัจจุบันตั้งอยู่ใน อำเภอเมืองนารา และ อำเภอโอยามาโตะ จังหวัดนารา ประเทศญี่ปุ่น มีรูปทรงเป็นแบบ เวียง คือรูปทรงสี่เหลี่ยมพื้นผ้าตามแบบจีน หรือ ตามแบบที่นิยมสร้างกันในอาณาจักรล้านนา และ พม่า ซึ่งเฮโจเกียวนี้ได้นำแบบแผนมาจากเมืองซีอานประเทศจีน เมืองหลวงของจีนในขณะนั้น

ประวัติ

ในปี พ.ศ. 1250 (ค.ศ. 707) ได้มีเหตุการณ์ย้ายเมืองหลวง จากฟูจิวะระเคียว ไปสู่เฮโจเคียว ซึ่งเป็นพระราชเสาวนีย์ของ พระจักรพรรดินีเกนเม แต่ก็มีการย้ายไปที่อื่นอีก คือ คุนิเกียว หรือ คุนิโนมิยะ หลังจากนั้นอีกไม่นาน ก็ได้กลับมาเป็นเมืองหลวงเหมือนเดิมในปี พ.ศ. 1283 (ค.ศ. 745)

ชื่อที่มา

  • ถ้าอ่านคำว่า เฮ (平) ของ เฮโจเคียว เป็นแบบภาษาจีน จะหมายความว่า ราบ พื้นราบ ซึ่งสันนิษฐานกันว่าคำนี้น่าจะมาจากว่า เมื่อเมืองหลวงเก่าและเป็นเมืองหลวงแห่งแรกของญี่ปุ่น อาซึกะ ตั้งอยู่บนภูเขา แผ่นดินไม่เสมอกัน จึงย้ายมาบนที่ราบ แผ่นดินเรียบ จึงนำคำว่า เฮ อันหมายความว่าเรียบ มารวม
  • โจ (城) นั้นหมายความว่า ปราสาท หรือ เมือง ซึ่งสร้างเป็นแบบจตุรัสแบบเมืองหลวงจีน
  • เคียว หรือ เกียว (京) คือเมืองหลวง ซึ่งสามารถเห็นได้ชื่อเมืองในปัจจุบันเช่น เกียวโตะ (京都) และ โตเกียว (東京)

ดูเพิ่ม