ข้ามไปเนื้อหา

ฝ่ายปกครองตนเองซีเรียเหนือและตะวันออก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฝ่ายปกครองตนเองซีเรียเหนือและตะวันออก

สัญลักษณ์ของซีเรียเหนือและตะวันออก
สัญลักษณ์
ดินแดนที่อยู่ในการบริหารราชการของเขต
ดินแดนที่อยู่ในการบริหารราชการของเขต
สถานะเขตปกครองตนเองของซีเรียโดยพฤตินัย
เมืองหลวงAyn Issa[1]
เมืองใหญ่สุดรักกา
ภาษาภาษาเคิร์ด
ภาษาอาหรับ[2]
ภาษาอราเมอิก
เดมะนิมเคิร์ด
การปกครองสหพันธรัฐประชาธิปไตยกึ่งทางตรงสังคมนิยมอิสรเสรี
• ประธานาธิบดีร่วม
Îlham Ehmed[3]
Mansur Selum[4]
สภานิติบัญญัติสภาประชาธิปไตยซีเรีย
เขตปกครองตนเอง
• ประกาศรัฐบาลเปลี่ยนผ่นา
2556
• ประกาศอัตตาณัติ
มกราคม 2557
• รัฐบาลประกาศตั้งสหพันธรัฐ
17 มีนาคม 2559
เขตเวลาUTC+3
ขับรถด้านright
รหัสโทรศัพท์+963
โดเมนบนสุด.sy

ฝ่ายปกครองตนเองซีเรียเหนือและตะวันออก (อังกฤษ: Autonomous Administration of North and East Syria) หรือเรียก โรจาวา (เคิร์ด: Rojava) เป็นภูมิภาคปกครองตนเองโดยพฤตินัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศซีเรีย[5][6] ภูมิภาคดังกล่าวมีอัตตาณัติโดยพฤตินัยในปี 2555 ท่ามกลางสงครามกลางเมืองซีเรีย แม้มีความสัมพันธ์ภายนอกกับบางประเทศ แต่รัฐบาลซีเรีย หรือรัฐหรือองค์การอื่นใดไม่ได้ให้การรับรองภูมิภาคดังกล่าวอย่างเป็นทางการ[7][8][9][10]

ผู้สนับสนุนระบอบการปกครองอธิบายว่าเป็นหน่วยงานทางการเมืองทางโลกที่เป็นทางการ การประยุกต์ใช้ประชาธิปไตยโดยตรงกับอุดมการณ์อนาธิปไตย ประชาธิปไตยแบบสตรีนิยมและเสรีนิยมสังคมนิยมซึ่งสนับสนุนการกระจายอำนาจแบบรวมศูนย์ ความเท่าเทียมทางเพศ ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืน นิเวศวิทยาทางสังคมและความอดทนที่หลากหลายแวดล้อม นิเวศวิทยาสังคมและความอดกลั้นพหุนิยมต่อความหลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรมและการเมือง ซึ่งสะท้อนออกมาในธรรมนูญ สังคมและการเมือง โดยระบุว่าต้องการเป็นตัวแบบเรียกร้องให้มีสหพันธรัฐซีเรีย มากกว่าประกาศเอกราชอย่างชัดเจน[11][12][13][14] แต่ผู้วิจารณ์หน่วยการเมืองดังกล่าวระบุว่าเป็นอำนาจนิยม สนับสนุนรัฐบาลซีเรีย การแผลงเป็นเคิร์ด และมีข้อกล่าวหาการขับไล่คนพื้นเมือง[15]

สถานการณ์ทางทหารปัจจุบันในซีเรีย
  ควบคุมโดยรัฐบาลซีเรีย
  ควบคุมโดยกองกำลังชาวเคิร์ด
  ควบคุมโดยกบฏอื่น

อ้างอิง

[แก้]
  1. Wladimir van Wilgenburg (23 November 2019). "Turkish-backed groups launch attack near strategic Syrian town of Ain Issa". Kurdistan24. สืบค้นเมื่อ 18 December 2020.
  2. "West Kurdistan divided into three cantons". ANF. 6 January 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-02. สืบค้นเมื่อ 6 January 2014.
  3. Fetah, Vîviyan (17 July 2018). "Îlham Ehmed: Dê rêxistinên me li Şamê jî ava bibin". rudaw.net (ภาษาเคิร์ด). Rudaw Media Network. สืบค้นเมื่อ 29 September 2019.
  4. "Syrian Kurds declare new federation in bid for recognition". Middle East Eye. 17 March 2016.
  5. Allsopp & van Wilgenburg (2019), pp. 11, 95.
  6. Zabad (2017), pp. 219, 228.
  7. Shahvisi, Arianne (2018). "Beyond Orientalism: Exploring the Distinctive Feminism of democratic confederalism in Rojava". Geopolitics: 1–25. doi:10.1080/14650045.2018.1554564.
  8. http://www.doiserbia.nb.rs/img/doi/0353-5738/2020/0353-57382003319B.pdf
  9. "German MP Jelpke: Rojava needs help against Corona pandemic". ANF News.
  10. Şimşek, Bahar; Jongerden, Joost (29 October 2018). "Gender Revolution in Rojava: The Voices beyond Tabloid Geopolitics". Geopolitics: 1–23. doi:10.1080/14650045.2018.1531283 – โดยทาง DOI.org (Crossref).
  11. "PYD leader: SDF operation for Raqqa countryside in progress, Syria can only be secular". ARA News. 28 May 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-01. สืบค้นเมื่อ 8 October 2016.
  12. Ross, Carne (30 September 2015). "The Kurds' Democratic Experiment". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 20 May 2016.
  13. In der Maur, Renée; Staal, Jonas (2015). "Introduction". Stateless Democracy (PDF). Utrecht: BAK. p. 19. ISBN 978-90-77288-22-1. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 October 2016. สืบค้นเมื่อ 19 April 2016.
  14. Jongerden, Joost (6 December 2012). "Rethinking Politics and Democracy in the Middle East" (PDF). Ekurd.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-15. สืบค้นเมื่อ 9 October 2016.
  15. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :4