ผู้ใช้:PickUp1994/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เมืองน่านเก่า[แก้]

เมืองน่านเก่า จะขออ้างจารึกหลังที่1ที่กล่าวถึงเมืองน่าน "เมืองแพร่ เมืองม่าน เมืองน่าน เมืองพลัว" ชื่อเมืองน่านได้ถูกกล่าวมาพร้อมกับชื่อเมืองพลัว แต่จะสวนทางกับตำนานเมืองต่างๆที่กล่าวว่าเมืองน่านเกิดขึ้นภายหลังเมืองพลัว ถ้าอ้างตามจารึกหลักที่1เมืองน่านน่าจะมีมาแต่นานนมแล้ว ก่อนที่พระญาผากองจะมาสร้างเมืองทับอีกที แต่เราก้อไม่ทราบได้ว่าเมืองที่พระยาผากองมาสร้างนั้นสัณฐานจะเป็นเช่นไร(ตำนานว่าเป็นดั่งมูลวัวอสุภราชที่ถ่ายไว้ในนิมิตรพระญาผากอง พระญาเลยสร้างเมืองตามรอยมูลวัวนั้น) แต่ถ้าเรามาดูแผนที่ทางอากาศเราจะเห็นว่าเมืองน่านที่เจ้าอนันต์วรฤทธิเดช(ราชวงศ์หลวงติ๋นมหาวงศา)มาบูรณะขึ้นอีกทีนั้น จะเป็นครึ่งหนึ่งของเมืองรูปหอยสังข์ ซึ่งเมืองรูปหอยสังข์นี้ เป็นเมืองขนาดใหญ่มากๆครอบคลุมพื้นที่ลงมาถึง ทางใต้บริเวณวัดพญาวัด. ปราการของเมืองด้านตะวันออกในขณะที่น้ำน่านยังไม่เปลี่ยนทิศทางไปรวมกันอยู่เส้นเดียวดั่งในปัจุบัน ได้เป็นปราการทางน้ำขนาดใหญ่ทางตะวันออกของเมืองรูปหอยสังข์นี้เรื่องนี้น่าศึกษากว่าเรื่องเมืองน่านในสมัยพระยาผากองมาก. เพราะมีความสัมพันธ์ กับกลุ่มเมืองโบราณสมัยทวารวดี คือเมืองลำพูนซึ่งมีลักษณะเป็นดั่งหอยสังข์ และกลุ่มเมืองแพร่ที่มีสัณฐานเป็นดั่งรอยเท้า(เปิ้นว่า) ความจริงน่าจะเป็นหอยสังข์นั้นแหละ เหมือนลำพูน 55 เมืองรูปหอยสังข์ที่ปรากฏบนรูปถ่ายทางอากาศของเมืองน่าน แสดงให้เห็ถึงการสร้างซ้อนทับกันมาหลายยุคหลายสมัยและอาจเป็นเมืองน่านเก่าที่กล่าวไว้ในจารึกหลักที่1 ถ้าเป็นอย่างนี้จริง นี้จะเป็นนครหลวงของพวกก๋าว(วงศ์เก่าก่อน)ก่อนที่ราชวงศ์ภูคาจะเคลื่อนจากทางเหนือลงมาปกครองเมืองน่านหรือไม่ cr.แผนที่ชุมชนเมืองน่านเก่า

พระประยูรญาติราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์[แก้]

สายสกุลใดกะไปไล่โครตกั๋นคนเดียวเด้อ ประวัติเจ้านายเมืองน่าน

เจ้าหลวงติ๋นมหาวงศ์ (เชียงใหม่) และ แม่เจ้ายอดหล้า (เชียงใหม่) มีบุตรและธิดา คือ
1. เจ้าอริยะวงศ์หวั่นท๊อก(ไชยวงศ์หวั่นท๊อก)
2. เจ้า มัว
3. เจ้า นรินทร์ 
4. เจ้านางเทพ + เจ้าไชยราชา (เชียงของ) 
เจ้าหลวงติ๋นมหาวงศ์ (เชียงใหม่) และเจ้ายอดหล้า (เมืองน่าน) มีบุตรและธิดา คือ
1.เจ้านางมะลิมาลา
2. เจ้านางยอดมโนรา
3. เจ้านางคำขา
เจ้าอริยะวงศ์หวั่นท๊อก + ชายา (เชียงใหม่) มีบุตรและธิดา คือ
1. เจ้าจันทปโชต หรือ เจ้ามงคลวรยศ (เวียงท่าปลา)
2. เจ้าวิฑูร (เมืองเทิง)
3. เจ้าเทพรินทร์
4. เจ้าน้อยตุ๊ย
5. เจ้ามหาวงศ์
เจ้าอริยะวงศ์หวั่นท๊อก + ชายา (เมืองน่าน) มีบุตรและธิดา คือ
1 เจ้า ขวา
2 เจ้า ซ้าย
3 เจ้า สมณะ หรือ เจ้าสุมณเทวราช (เวียงสา) 
เจ้านางบัวเทพ + เจ้าไชยราชา (เชียงของ)มีบุตร และธิดา คือ 
1. เจ้าอ้าย 
2. เจ้าสุทธะ 
3. เจ้ามโน 
4. เจ้านางบัวเลิศ
เจ้าสุมณเทวราช (เวียงสา) มีบุตร คือ 
1. เจ้าอชิตวงศ์ 
เจ้านางเลิศ + เจ้ามหาพรหม (เมืองเทิง)
1. เจ้ามหาวงศ์ 
เจ้าสุทธะ มีบุตร คือ 
1. เจ้าอัตถวรปัญโญ (อยู่หัวเวียงเหนือ) มีชายาดังนี้
เจ้าคำน้อย 
1. เจ้ามหายศ 
2 .บุตรคนที่ 2 ถึงแก่กรรม
3. แม่เจ้าประภาวดี
4. แม่เจ้า มี
5. แม่เจ้าหล้า
แม่เจ้าแว่น (เชียงแสน) มีบุตรธิดา 7 คน 
(1) แม่เจ้าศรีวรรณา เป็นภรรยาเจ้ามหายศ (เมืองเชียงของ) มีบุตรธิดา 9 คน 
1. เจ้าหนานเทพ
2. เจ้าจันต๊ะ
3. เจ้าหนานมหาไชย
4. เจ้ามหาวงศ์
5. เจ้าสุพรรณ
6. เจ้ากรรณิกา
7. เจ้าสุธรรมา
8. เจ้าคำแปง
9. แม่เจ้ายอดหล้าเป็นชายาพระเจ้าสุริยะพงษ์ผลิตเดช
(2) เจ้าถงแก้ว
(3) เจ้าแสงเมือง
(4) เจ้าคำฤา
(5) เจ้าหนานมหาวงศ์
(6 )เจ้าสุริยะ
(7) เจ้าหนานไชยา
แม่เจ้าขอดแก้ว ไม่มีบุตร
แม่เจ้าขันแก้ว (เมืองเชียงแข็ง) (เป็นธิดาของเจ้าฟ้าแว่น เมือง) มีบุตรธิดา 2 คน 
(1) เจ้าอนันตยศ หรือ เจ้าอนันตวรฤทธิเดช
(2) เจ้าต่อม
เจ้าอนันตวรฤทธิเดช (เจ้าหลวงเมืองน่านลำดับที่ 12)
แม่เจ้าสุนันทา 1. เจ้าหนานมหาพรหม 2. เจ้าสุริยะพงษ์ (เจ้าน้อยสุริยะ) 
3. เจ้าสุริยวงษา (เจ้าสาร) 4. เจ้าบุญรังษี 5. เจ้าหญิงหมอกแก้ว 6. เจ้าหญิงคำทิพย์
แม่เจ้าขอดแก้ว 1. เจ้าน้อยมหาพรหมสุรธาดา 2. เจ้าหญิงยอดมโนลา
เจ้าคำปิว ไม่มีบุตร
เจ้าบัวเขียว (เมืองแพร่) 1. เจ้าหญิงคำปิว
เจ้าบัวแว่น 1. เจ้าหญิงแก้วไหลมา 2. เจ้าหญิงบุษบา 3. เจ้าน้อยบุญสวรรค์
แม่เจ้าอัมรา (หลานเจ้าอนันฯ) 1. เจ้าน้อยฟ้าร่วนเมืองอิน 2.เจ้าหญิงขันคำ
เจ้าปาริกา (เชียงแข็ง) 1. เจ้าน้อยบรม 2. เจ้าน้อยบัวเลียว 3. เจ้าหยั่งคำเขียว 4. เจ้าน้อยบัวลองป่องฟ้าบุนทนาวงษ์ 5. เจ้าน้อยหมอกมุงเมือง 
6. เจ้าหนานรัตนเรืองรังษี 7. เจ้าน้อยสุทธนะ 8. เจ้าหญิงคำเกี้ยว
เจ้าสุคันธา 1. เจ้าน้อยอนุรศรังษี 2. เจ้าหญิงเกี๋ยงคำ 3. เจ้าหญิงเกี๋ยงเหมือย 4. เจ้าหญิงสาวดี
แม่เจ้าแว่นลื้อ (เมืองกุสาวดี) ไม่มีบุตร
นางกองแก้ว 1. เจ้าหนานมหาวงษ์ 2. เจ้าหญิงคำปอก
นางคำแปง (บ้านนาปัง) 1. เจ้าน้อยอานนท์ 2. เจ้าหญิงบัวแฝง
ข้ารับใช้ไม่ทราบชื่อ 1. เจ้าหนานมหาวงษ์น้อย

ที่มา :http://www.lannaworld.com/cgi/lannaboard/reply_topic.php?id=23787 พระญาติวงศ์ ในเจ้ามหาพรหม และเจ้านางเลิศอัครชายา 1. เจ้ามหาวงษ์ เจ้าเมืองน่าน องค์ที่ 61
2. เจ้าเมืองแก้ว : เจ้านางเมืองเชียงลม

  • เจ้าหนานมหายศ

3. เจ้าน้อยพิมพิสาร ตนล่วงไปแล
4. เจ้าหนานวุฒนะ เจ้าหลวงเทิง
5. เจ้าสุริยช่อฟ้า : แม่เจ้าหล้าอัครชายา

  • เจ้าน้อยกิติยศ

6. เจ้านางอุบลวรรณา

  • พระเมืองน้อย

7. เจ้านางศรีวรรณา : เจ้าสุริยกลางเวียง

  • เจ้ายอดลีลา
  • เจ้าเปี้ย

8. เจ้านางจันทิมา : เจ้าน้อยกลาง

  • เจ้าจันต๊ะ


เจ้าสุริยะพงษ์ (เจ้าหลวงเมืองน่านลำดับที่ 13)

แม่เจ้ายอดหล้า 1. เจ้าหญิงคำบุ 2. เจ้าหญิงคำเครื่อง 3. เจ้าธรรมยศ 
4. เจ้าหญิงอัมรา 5. เจ้ารัตนะ(เจ้าราชวงศ์) 6. เจ้าน้อยบริยศ 
7.เจ้าหญิงบัวเขียว ภรรยาเจ้าน้อยบรม 8. เจ้าสุทธิสาร(เจ้าบุรี
รัตน์) 9. เจ้าจันทวงษ์ (เจ้าราชภาติกวงศ์) 10. เจ้าหนานบุญรังษี 
11. เจ้าน้อยมหาวงษ์ (เจ้าราชภาคินัย) 12. เจ้ายอดฟ้า 
(เจ้าราชดนัย) สามีเจ้าหญิงสุพรรณวดีเมืองแพร่ 
13. เจ้าหญิงสมุทร
แม่เจ้าคำปิว มีบุตร 4 คน เสียชีวิตหมด
แม่เจ้าจอมแฝง 1. เจ้าหญิงบัวแว่น ภรรยาเจ้าน้อยอนุรุท 2. เจ้าแห้ว 
3. เจ้าน้อยครุธ
แม่เจ้าคำเกี้ยว 1. เจ้าหญิงเกี๋ยงคำ 2. เจ้าหญิงคำอ่าง
นางยอดหล้า (เชียงคำ) 1. เจ้าหญิงเทพมาลา 2. เจ้าเทพเกสร 
ภรรยาเจ้าน้อยอินแปลงเมืองแพร่ 3. เจ้าน้อยอินแสงสี 
4. เจ้าหญิงจันทวดี 5. เจ้าหญิงศรีสุภา 
6. เจ้าหญิงดวงมาลา 7. เจ้าหญิงประภาวดี
นางศรีคำ (เวียงจันทร์) 1. เจ้าหญิงแว่นแก้ว 2. เจ้าหญิงศรีพรหมา
(หม่อมศรีพรหมา) (มีบุตร 4 คนแรก เสียชีวิตหมด)
นางบัวปิว 1. เจ้าหญิงต่อมแก้ว 2. เจ้าน้อยก่ำ 3. เจ้าหญิงเกียรทอ

พระเจ้าธนันท์วัฒน์วงศาราชาธิราช[แก้]

พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่าน องค์ที 63

แห่ง ราชวงศ์หลวงติ๋นมหาวงศ์

ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 และเป็นต้นราชสกุล ณ น่าน

    พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ มีพระนามเดิมว่า "เจ้าสุริยะ ณ น่าน" ประสูติเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2374 ทรงเป็นราชโอรสในเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ครองนครน่านกับแม่เจ้าสุนันทา 
ในปีพ.ศ. 2398 และทรงได้รับพระราชทาน

สัญญาบัตรเป็น พระยาราชวงษ์ ต่อมา พ.ศ. 2431 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เป็นว่าที่เจ้าอุปราช

เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว โปรดเกล้าฯให้สถาปนาเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เลื่อนพระฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น พระเจ้านครน่าน มีพระนามปรากฏตามสุพรรณบัฎว่า "พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุรมหาราชวงศาธิบดี สุริตจารีราชนุภาวรักษ์ วิบูลยศักดิ์กิติไพศาล ภูบาลบพิตรสถิตย์ ณ นันทราชวงษ์"

นับเป็นพระเจ้านครน่านองค์แรก และ องค์เดียวในประวัติศาสตร์น่าน

พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ

ถึงแก่พิราลัยด้วยโรคชรา
ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2461
สิริรวมอายุได้ 87 ปี 

ณ น่าน สืบสายจากครั้งสมัย ราชสกุลเจ้าพญาหลวงติ๋นต้นวงศ์เจ้านครน่าน

พระเจ้ากรุงอังวะได้โปรดฯให้ 

เพื่อขอเจ้าพญาติ๋นหลวง เมืองเชียงใหม่ มาเป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน

เจ้าพญาหลวงติ๋นมหาวงค์ ครองเมืองน่าน

ระหว่าง พ.ศ. ๒๒๖๙–๒๒๙๔

นับเป็นบรรพบุรุษราชสกุล " ณ น่าน " ในปัจจุบัน

ต่อมานครน่าน ได้เป็นประเทศราช รวมอยู่ในราชอาณาจักรสยาม

โดยในช่วง พ.ศ. ๒๒๙๗–๒๓๒๗
หัวเมืองล้านนาต่าง ๆ พยายามแข็งข้อต่อพม่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสามารถโจมตีขับไล่ พม่า ออกจาก เชียงใหม่ เป็นผลสำเร็จ

เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๗

แต่ นครน่าน ยังตกอยู่ในฝ่ายพม่า

เจ้าน้อยวิฑูร เจ้านครน่านถูกจับและถูกคุมตัว

ส่งไปยังกรุงธนบุรี ( พ.ศ. ๒๓๒๑ )

เมืองน่านจึงขาดผู้นำ พม่าได้ยกทัพกวาดต้อน

ผู้คนไปอยู่ที่เชียงแสน ทำให้เมืองน่าน ถูกทิ้งร้างว่างเปล่า จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงแต่งตั้งให้เจ้ามงคลวรยศ หลานเจ้าพญาหลวงติ๋นมหาวงศ์ มาปกครองนครน่านที่รกร้างว่างเปล่า และในปี พ.ศ. ๒๓๒๘ กองกำลังพื้นเมืองล้านนาโดยการสนับสนุนของกองทัพสยาม ขับไล่พม่าออกไปได้สำเร็จ

นครน่าน จึงรวมเข้าอยู่ใน ราชอาณาจักรสยาม 

และ เจ้ามงคลวรยศ ได้ยกนครน่าน ให้ เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ปกครองสืบไป

เมื่อนครน่านขึ้นกับกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. ๒๓๓๑ เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ได้ลงไปเฝ้าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ณ กรุงรัตนโกสินทร์

เพื่อขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมา 

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ เป็น เจ้าผู้ครองนครน่าน

และ แต่งตั้งเจ้าสุมนเทวราช ขึ้นเป็น

เจ้าพระยาหอหน้า พ.ศ. ๒๓๔๓

นครน่าน จึงมีฐานะ เป็น หัวเมืองประเทศราชของกรุงเทพฯ ตั้งแต่นั้นมา
เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ มีความสามารถ

ในการปกครอง และ บริหารบ้านเมืองเป็นอย่างยิ่ง นับแต่เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมากรุงรัตนโกสินทร์ เมืองน่านมีฐานะเป็นหัวเมืองประเทศราช

เจ้าผู้ครองนคร มีอำนาจสิทธิเด็ดขาด
ในการปกครองพลเมือง การขึ้นครองนคร

แม้จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก กรุงรัตนโกสินทร์ แต่โดยทางปฏิบัติแล้ว พระมหากษัตริย์กรุงรัตนโกสินทร์ ทรงให้เจ้านาย และ ขุนนางผู้ใหญ่ในเมืองน่านเลือกตัว เจ้านายผู้มีอาวุโส เป็น เจ้าผู้ครองนครกันเอง มิได้ทรงยุ่งเกี่ยวกับ กิจการภายใน

เจ้าผู้ครองนครน่าน ในชั้นหลังทุกพระองค์ ต่างจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี ได้ช่วยราชการบ้านเมืองสำคัญ ๆ หลายครั้ง หลายคราวด้วยกัน เช่น ช่วยราชการสงครามเมืองเชียงแสนในรัชกาลที่ ๑ ปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์ในรัชกาลที่ ๓ ช่วยราชการสงครามเมืองเชียงตุง ในรัชกาลที่ ๔ และ ๕ เป็นต้น

สมัยเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ได้ทรงแก้ไขวิธีการปกครองแผ่นดินขึ้นใหม่ 

ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ โดยแบ่งการปกครองหัวเมืองออกเป็นมณฑลเทศาภิบาล

ได้ทรงส่งข้าราชการผู้ใหญ่ที่ไว้วางพระราชหฤทัยจากกรุงเทพ ฯ เป็นผู้แทนต่างพระเนตร พระกรรณมากำกับดูแล การบริหารบ้านเมือง

ของเจ้าผู้ครองนคร เรียกชื่อตามตำแหน่ง ทำเนียบว่า "ข้าหลวงประจำเมือง "

ในปี พ.ศ. ๒๔๔๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริว่าเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่าน ได้ประกอบคุณงามความดี

แก่ราชการบ้านเมือง เป็นที่รักใคร่นับถือ

ของเจ้านายท้าวพระยาและพลเมืองโดยทั่วไป จึงมีพระบรมราชโองการให้สถาปนาเลื่อนยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น " พระเจ้านครน่าน" มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏ ว่า " พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชกุลเชษฐ มหันตชัยนันทบุรีมหาราชวงศาธิบดี ฯ "

เมื่อพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช ถึงแก่พิราลัย

เจ้ามหาพรหมสุรธาดา (เจ้าอุปราช) 

ได้ขึ้นครองเมืองน่าน ในสมัยนี้อำนาจของเจ้าผู้ครองนครลดน้อยลงทางกรุงเทพ ฯ ได้จัดส่งข้าราชการ เช่น ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด คลังจังหวัด และสรรพากรจังหวัด ฯลฯ

มาประจำหน่วยงานเรียกกันว่า "เค้าสนามหลวง" ส่วนตัวเจ้าผู้ครองนครได้กำหนดรายได้

เป็นอัตราเงินเดือน ส่วยสาอากรต่าง ๆ ต้องเก็บเข้าท้องพระคลังทั้งสิ้น

เมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดาถึงแก่พิราลัย

ในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนคร ถูกยุบเลิกแต่นั้นมา

  1. จากเพจ เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น

พระนามเจ้าผู้ครองนคร[แก้]

ในสมัยกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ พ.ศ. 2326 เป็นต้นมา เมืองน่านมีเจ้าผู้ครองนคร 9 พระองค์ มีรายพระนามดังต่อไปนี้

รายพระนามกษัตริย์นครนันทรัฐบุรี
ราชวงศ์นันทราธิวงศ์ปกครองนครนันทรัฐบุรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2269 - 2563
รัชกาล พระรูป พระนาม ราชาภิเษก ครองราชย์ ระยะเวลา
1 ไฟล์:เจ้าในอดีต1.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าติ๋นนันทราชาธิราช)
2 เมษายน พ.ศ. 2326 พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329 3 ปี
2 ไฟล์:เจ้าในอดีต3.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าอริยวงษาราชาธิราช)
2 เมษรยน พ.ศ. 2326 พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329 3 ปี
3 ไฟล์:เจ้าในอดีต2.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าอ้ายลาวพงษาราชาธิราช)
2 เมษรยน พ.ศ. 2326 พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329 3 ปี
4 ไฟล์:เจ้าในอดีต6.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าพรหมโนวงศ์ราชาธิราช)
2 เมษรยน พ.ศ. 2326 พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329 3 ปี
5 ไฟล์:เจ้าในอดีต4.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าวิธูรวงศาราชาธิราช)
2 เมษรยน พ.ศ. 2326 พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329 3 ปี
6 ไฟล์:1 Inthasom.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้ามงคลยศราชาธิราช)
2 เมษรยน พ.ศ. 2326 พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329 3 ปี
7 ไฟล์:Chao Phraya Abhaya Bhubet.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าอัตถปัญโญวรราชาธิราช)
29 สิงหาคม พ.ศ. 2331 พ.ศ. 2329 - 2342 13 ปี
8 ไฟล์:กษัตริย์4.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าสุมนเทวราชาธิราช)
3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2354 พ.ศ. 2353 - 2368 15 ปี
9 ไฟล์:กษัตริย์1.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้ามหายศราชาธิราช)
22 สิงหาคม พ.ศ. 2368 พ.ศ. 2368 - 2378 10 ปี
10 ไฟล์:Anurak Devesh 1.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าอชิตวงษาราชาธิราช)
23 มกราคม พ.ศ. 2380 พ.ศ. 2379 - 2380 7 เดือน
11 ไฟล์:Ong Kham.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้ามหาวงษาธิราช)
พ.ศ. 2251 พ.ศ. 2251 - 2276 25 ปี
12 ไฟล์:Nantharat.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าอนันตฤทธิเดชราชาธิราช)
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436 พ.ศ. 2395 - 2435 40 ปี
13 ไฟล์:พระเจ้าน่าน.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าสุริยพงษ์เดชกุลเชฐมหันต์นันทราชาธิราช)
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436 พ.ศ. 2436 - 2461 25 ปี
14 ไฟล์:เจ้ามหาพรหมสุรธาดาฯ เจ้านครน่าน.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้ามหาพรหมสุรธาดาราชาธิราช)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 พ.ศ. 2461 - 2474 13 ปี
15 ไฟล์:เจ้าในอดีต15.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าสิทธิสารราชาธิราช)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 พ.ศ. 2474 - 2501 13 ปี
16 ไฟล์:เจ้าในอดีต16.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าหมอกฟ้าราชาธิราช)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 พ.ศ. 2461 - 2474 13 ปี
17 ไฟล์:เจ้าในอดีต17.jpg สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าธนันท์วัฒน์วงศาราชาธิราช)
2 เมษายน พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน

พระเจ้าติ๋นนันทราชาธิราช[แก้]

เจ้าหลวงติ๋นมหาวงษ์
เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน
พระองค์ที่ 1
ราชาภิเษก24 มีนาคม พ.ศ. 2269
พระอิสริยยศเจ้าเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์เจ้าพระยาหลวง
ครองราชย์พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329
รัชกาล26 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ก่อนหน้าเจ้าพระยาหลวงนาขวา
ถัดไปเจ้าพระยาหลวงอริยวงษ์
พิราลัย8 เมษายน พ.ศ. 2294
ณ คุ้มหลวงเมืองน่าน
อัครราชเทวีแม่เจ้านางเชียงใหม่ อัครราชเทวี
ราชเทวีแม่เจ้านางยอดราชเทวี
พระราชบุตร7 พระองค์
พระนามเต็ม
เจ้าพระยาหลวงติ๋นมหาวงษ์
พระราชบิดาพ่อเจ้าเมืองเชียงใหม่
พระราชมารดาแม่เจ้าเมืองเชียงใหม่

พระเจ้าอริยวงษาราชาธิราช[แก้]

เจ้าหลวงมหาวงษ์
เจ้าผู้ครองนครน่าน
พระองค์ที่ 11
ราชาภิเษกพ.ศ. 2381
พระอิสริยยศเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระยาประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2381 - พ.ศ. 2394
รัชกาล13 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลมหาวงศนันท์
ก่อนหน้าเจ้าหลวงอชิตวงษ์
ถัดไปเจ้าอนันตวรฤทธิเดช
พิราลัย10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2324
กรุงธนบุรี
อัครเทวีแม่เจ้านางยอดอัครเทวี
เทวี1 องค์
พระราชบุตร5 พระองค์
พระนามเต็ม
อาชญา สมเด็จพระเป็นเจ้าชีวิต เจ้าหลวงมหาวงษาธิราช
พระราชบิดาพ่อเจ้าหลวงมหาพรหม
พระราชมารดาแม่เจ้านางเลิศอัครเทวี

พระเจ้าอ้ายลาวพงษาราชาธิราช[แก้]

สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าอ้ายลาวพงษาราชาธิราช)
พระเจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 3
ราชาภิเษก2 เมษายน พ.ศ. 2326
พระอิสริยยศเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระยาประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329
รัชกาล3 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลวรยศ
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอชิตวงษา
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดช
พิราลัยพ.ศ. 2394
คุ้มหลวงเวียงเหนือ (เมืองน่าน)
อัครราชเทวีสมเด็จเจ้านางยอด พระอัครราชเทวี
ราชเทวี1 พระองค์
พระราชบุตร5 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ องค์มงคลยศวรราชาธิราช
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดาราชาธิบดี เจ้าฟ้าหลวงอริยวงษาฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดา เจ้านางเชียงใหม่อัครเทวี พระชนนี

พระเจ้าพรหมโนวงศ์ราชาธิราช[แก้]

สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าพรหมโนวงศ์ราชาธิราช)
พระเจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 4
ราชาภิเษก2 เมษายน พ.ศ. 2326
พระอิสริยยศเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระยาประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329
รัชกาล3 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลวรยศ
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอชิตวงษา
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดช
พิราลัยพ.ศ. 2394
คุ้มหลวงเวียงเหนือ (เมืองน่าน)
อัครราชเทวีสมเด็จเจ้านางยอด พระอัครราชเทวี
ราชเทวี1 พระองค์
พระราชบุตร5 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ องค์มงคลยศวรราชาธิราช
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดาราชาธิบดี เจ้าฟ้าหลวงอริยวงษาฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดา เจ้านางเชียงใหม่อัครเทวี พระชนนี

พระเจ้าวิธูรวรราชาธิราช[แก้]

สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าวิธูรวรราชาธิราช)
พระเจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 5
ราชาภิเษก2 เมษายน พ.ศ. 2326
พระอิสริยยศเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระยาประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329
รัชกาล3 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลวรยศ
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอชิตวงษา
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดช
พิราลัยพ.ศ. 2394
คุ้มหลวงเวียงเหนือ (เมืองน่าน)
อัครราชเทวีสมเด็จเจ้านางยอด พระอัครราชเทวี
ราชเทวี1 พระองค์
พระราชบุตร5 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ องค์มงคลยศวรราชาธิราช
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดาราชาธิบดี เจ้าฟ้าหลวงอริยวงษาฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดา เจ้านางเชียงใหม่อัครเทวี พระชนนี

พระเจ้ามงคลยศวรราชาธิราช[แก้]

สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้ามงคลยศวรราชาธิราช)
พระเจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 6
ราชาภิเษก2 เมษายน พ.ศ. 2326
พระอิสริยยศเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระยาประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2326 - พ.ศ. 2329
รัชกาล3 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลวรยศ
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอชิตวงษา
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดช
พิราลัยพ.ศ. 2394
คุ้มหลวงเวียงเหนือ (เมืองน่าน)
อัครราชเทวีสมเด็จเจ้านางยอด พระอัครราชเทวี
ราชเทวี1 พระองค์
พระราชบุตร5 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ องค์มงคลยศวรราชาธิราช
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดาราชาธิบดี เจ้าฟ้าหลวงอริยวงษาฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดา เจ้านางเชียงใหม่อัครเทวี พระชนนี

เครื่องยศเจ้าสุมน[แก้]

พระมหากระษัตริย์เจ้าก็เลื่อนยศขึ้นว่า สุมนเทวราช เจ้าพระยาน่าน ว่าอันหั้นแล ครั้นว่าได้รับเมืองแล้ว เถิงเดือน ๖ ลง ๓ ค่ำท่านก็ล่องลงไปเฝ้าพระมหากระษัตริย์เจ้าเมืองใต้ตนลูกหั้นแล เถิงเดือน ๗ ลง ๔ ค่ำ ก็เถิงกรุงเทพ มหานครในวันนั้นแล เถิงจุลศักราชได้ ๑๑๗๓ ตัวปีลวงเม็ดเดือน๗ ลง ๖ ค่ำวันปีใหม่พระมหากระษัตริย์เจ้าจิงพระราชทานหื้อแก่เจ้าหลวงสุมนเทวราช คือ มีพานพระศรีคำใบ ๑ จอกคำ ๒ ใบ ผะอบยาสูบคำ ๒ อัน ซองพลูคำอัน ๑ มีดด้ามคำอัน ๑ อุบนวดคำใบ ๑ คนโทคำลูก ๑ กะโถนคำใบ ๑ แหวนธำมรงค์ราชลูกดีพลอยเพ็ชรต้น ๑๐ กลาง ๑๐ สองวง พระกลดแดงดอกคำใบ ๑ ปืนลองชนเครือคำบอก ๑ ปืนลองชนต้นเรียบ ๒ บอก ต้นกลม ๓ บอก ผ้ายกไหมคำหลวงสังเวียนผืน ๑ ผ้านุ่งยกไหมคำ ๔ ผืน ผ้าโพกริ้วทองผืน ๑ เสื้อจีบเอวภู่ตราดอกคำผืน ๑ แพรขาวผุดดอกคำผืน ๑ มุ้งแพร ๒ หลัง สโต๊กเงิน ๒ ใบ มีสันนี้แล

พระเจ้าอัตถปัญโญวรราชาธิราช[แก้]

สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าอัตถปัญโญวรราชาธิราช)
พระเจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 7
ราชาภิเษก29 สิงหาคม พ.ศ. 2331
พระอิสริยยศพระเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระเจ้าประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2353
รัชกาล13 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้ามงคลยศวรราชาธิราช
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าสุมนเทวราชาธิราช
พิราลัยพ.ศ. 2353
กรุงเทพฯ
อัครราชเทวีสมเด็จเจ้านางคำน้อยอัครราชเทวี
ราชเทวี3 พระองค์
พระราชบุตร14 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ เอกองค์อัตถปัญโญวรราชา อดุลวิบุลสมภาร กฤตาธิการพิศาลศักดิ์ ภาวานุภาวติเรก อเนกเดชาฤทธานนท์ พหลฤทธิกฤติอุดมบรมยศปราเกียรติ์ สถิตย์เสถียรทศทิศพิชัย อภัยสีมาอาณารัฐ พิพัทธลัทธสุขสมบัติ ศรีบพิตร
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดาธิบดี พ่อเจ้าสุทธะ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดา แม่เจ้ากรรณิกามหาเทวี พระชนนี

เครื่องยศที่ได้รับพระราชทาน[แก้]

เมื่อนั้นพระมหากระษัตริย์เจ้ามีความยินดี ก็ชุบเลี้ยงเจ้าหลวงอัตถวรปัญโญหื้อเปนเจ้าน่านหั้นแล เมื่อนั้นพระมหากระษัตริย์เจ้ามีความยินดี รักเจ้าหลวงฟ้าน่านเสมอดังลูกอันเกิดเแต่อกตนนั้นแล เมื่อนั้นพระมหากระษัตริย์เจ้าท่านก็ปงพระราชทานรางวัลแก่เจ้าฟ้า มีแหวนธำมรงค์ดวงปาตก ๑ วง ขันคำลูก ๑ แอบยาคำ ๒ ลูก จอกหมากคำ ๒ ลูก ซองพลูคำลูก ๑ มีดผ่าหมากด้ามคำเถียน ๑ คนโทคำลูก ๑ กระโถนคำลูก ๑ สะโต๊กเงิน ๒ ใบ เสื้อผ้าผืนดีแลเครื่องสรรพทั้งมวลมากนักแล

พระเจ้าสุมนเทวราชาธิราช[แก้]

สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าสุมนเทวราชาธิราช)
พระเจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 8
ราชาภิเษก3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2354
พระอิสริยยศพระเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระเจ้าประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2354 - พ.ศ. 2368
รัชกาล15 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลสมณะช้างเผือก
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอัตถปัญโญวรราชาธิราช
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้ามหายศราชาธิราช
ประสูติพ.ศ. 2294
พิราลัย13 มิถุนายน พ.ศ. 2368 (74 ปี)
ณ กรุงเทพฯ
อัครราชเทวีสมเด็จแม่เจ้าอัครราชเทวี
ราชเทวี2 พระองค์
พระราชบุตร4 พระองค์
พระนามเต็ม
อาชญา สมเด็จพระเป็นเจ้าชีวิต องค์เจ้าหลวงสุมนเทวราช
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดาราชาธิบดี เจ้าฟ้าหลวงอริยวงษาฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดา แม่เจ้าเมืองรามราชเทวี พระชนนี

สุนทรเทพมหาเทวะราช

พระเจ้ามหายศราชาธิราช[แก้]

สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้ามหายศราชาธิราช)
พระเจ้านครน่าน พระองค์ที่ 9
ราชาภิเษก22 สิงหาคม พ.ศ. 2368
พระอิสริยยศพระเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระเจ้าประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2368 - พ.ศ. 2378
รัชกาล10 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลมหายศนันท์
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าสุมนเทวราชาธิราช
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอชิตวงษาธิราช
พิราลัยพ.ศ. 2378
ณ กรุงเทพฯ
อัครราชเทวีสมเด็จเจ้านางศรีวรรณาอัครราชเทวี
ราชเทวีพระองค์
พระราชบุตร5 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ องค์มหายศราชาธิราช
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดานันทวรราชาธิบดี พระเจ้าอัตถปัญโญวรราชาธิราชฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระนันทวรมารดา เจ้านางคำน้อยมหาราชเทวี พระชนนี

พระเจ้าอชิตวงษาราชาธิราช[แก้]

เจ้าหลวงอชิตวงษ์
(ราชวงศ์ติ๋นมหาวงษ์)
เจ้าผู้ครองนครน่าน องค์ที่ 10
ราชาภิเษก28 มกราคม พ.ศ. 2379
พระอิสริยยศเจ้าเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระยาประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2379
รัชกาล7 เดือน
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลจิตวงศ์นันท์
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้ามหายศราชาธิราช
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้ามหาวงษาธิราช
พิราลัย22 ตุลาคม พ.ศ. 2379
คุ้มหลวง (เมืองน่าน)
อัครราชเทวีสมเด็จแม่เจ้าอัครราชเทวี
ราชเทวี1 พระองค์
พระราชบุตร2 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ องค์อชิตวงษาธิราช
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดานันทวรราชาธิบดี พระเจ้าสุมนเทวราชาธิราชฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระนันทวรราชมาดา เจ้านางมหาเทวี พระชนนี

ท่านมีราชบุตรชาย ๓ องค์ องค์ที่ ๑ ชื่อเจ้าน้อยอินปัน ตนนี้ได้เปนราชบุตรแล้วได้เปนบุรีแล บุตรที่ ๒ ชื่อเจ้าคำเครื่อง ตนนี้ได้เปนวังขวาแล บุตรที่ ๓ ชื่อเจ้าน้อยเมืองแล เจ้าพิมพิสารเจ้าตุ้ย ตนนี้ต่างมารดา เปนลูกเจ้าหลวงมหาวงษ์เมียท่านที่ ๒ นั้นแล

พระเจ้ามหาวงษาราชาธิราช[แก้]

เจ้าหลวงมหาวงษ์
(ราชวงศ์ติ๋นมหาวงษ์)
เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน องค์ที่ 11
ราชาภิเษกพ.ศ. 2381
พระอิสริยยศพระเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระยาประเทศราช
ครองราชย์พ.ศ. 2381 - พ.ศ. 2394
รัชกาล13 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลณ น่าน
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอชิตวงษา
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดช
พิราลัยพ.ศ. 2394
คุ้มหลวงเวียงเหนือ (เมืองน่าน)
อัครราชเทวีสมเด็จเจ้านางยอด พระอัครราชเทวี
ราชเทวี1 พระองค์
พระราชบุตร5 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ พระเจ้ามหาวงษาธิราช ชาติพิชิตทิศพลญาณ วิปผาราฤทธิวิไชย สมุทัยตโรมนต์ พหลฤทธิกฤติอุดม บรมยศธิบัติขัตติยวงศ์
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดาราชาธิบดี เจ้าฟ้าหลวงมหาพรหมราชา พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดา เจ้านางเลิศอัครเทวี พระชนนี

ท่านมีราชบุตรชาย ๓ องค์ องค์ที่ ๑ ชื่อเจ้าน้อยอินปัน ตนนี้ได้เปนราชบุตรแล้วได้เปนบุรีแล บุตรที่ ๒ ชื่อเจ้าคำเครื่อง ตนนี้ได้เปนวังขวาแล บุตรที่ ๓ ชื่อเจ้าน้อยเมืองแล เจ้าพิมพิสารเจ้าตุ้ย ตนนี้ต่างมารดา เปนลูกเจ้าหลวงมหาวงษ์เมียท่านที่ ๒ นั้นแล

พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดช[แก้]

เจ้าอนันตวรฤทธิเดช
เจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 12
ราชาภิเษก21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436
พระอิสริยยศเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์เจ้าประเทศราช
ครองราชย์21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436 - 5 เมษายน พ.ศ. 2461
รัชกาล25 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลณ น่าน สายที่ 3
ก่อนหน้าเจ้าหลวงมหาวงศ์
ถัดไปพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ
ประสูติ2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2374
พิราลัย5 เมษายน พ.ศ. 2461
คุ้มหลวงนครน่าน
อัครราชเทวีแม่เจ้าสุนันทาอัครเทวี
ราชเทวี2 พระองค์
พระราชบุตร9 พระองค์
พระนามเต็ม
' พระอาชญา สมเด็จเชษฐบรมราชาอนันตยศวรราชเจ้า ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุระมหา ราชวงษาธิบดี สุจริตจารีราชานุภาวรักษ์ วิบุลยศักดิกิตติไพศาล ภูบาลบพิตร์ สถิตย์ ณ นันทราชวงษ์ '
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดานันทราชาธิบดี พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดา เจ้าขอดแก้วราชเทวี พระชนนี

พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช[แก้]

สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
( พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช)
พระเจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 13
ราชาภิเษก21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436
พระอิสริยยศพระเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระเจ้าประเทศราช
ครองราชย์21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436 - 5 เมษายน พ.ศ. 2461
รัชกาล25 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลณ น่าน สายที่ 1
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าอนันตยศวรราชา
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้ามหาพรหมสุรธาดาวรราชา
ประสูติ2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2374
พิราลัย5 เมษายน พ.ศ. 2461
คุ้มหลวงนครน่าน
อัครราชเทวีสมเด็จเจ้านางยอดหล้า พระอัครราชเทวี
ราชเทวี6 พระองค์
พระราชบุตร41 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุระมหา ราชวงษาธิบดี สุจริตจารีราชานุภาวรักษ์ วิบุลยศักดิกิตติไพศาล ภูบาลบพิตร์ สถิตย์ ณ นันทราชวงษ์
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดานันทราชาธิบดี พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดาพันวัสสา เจ้าสุนันทามหาเทวี พระชนนี

มหาอำมาตย์เอก พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ พระเจ้านครเมืองน่าน มีพระนามเดิมว่าเจ้าสุยะ ณ น่าน เป็นเจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน พระองค์ที่ 63 และเป็นเจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 13 แห่ง ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์ ครองราชย์เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436 สืบราชขัตติยวงษ์ต่อจากพระบิดา สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ ประสูติแต่สมเด็จเจ้านางสุนันทาอัครราชเทวี

พระราชประวัติ[แก้]

มเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุระมหา ราชวงษาธิบดี สุจริตจารีราชานุภาวรักษ์ วิบุลยศักดิกิตติไพศาล ภูบาลบพิตร์ สถิตย์ ณ นันทราชวงษ์ ประสูติเมื่อวันที่ ประสูติเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2374 เป็นราชโอรสในสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน ประสูติแต่ สมเด็จเจ้านางสุนันทาอัครราชเทวี ทรงมี พระเชษฐา พระอนุชา และพระขนิษฐา ร่วมพระชนนี 6 พระองค์ ดังนี้

  1. เจ้ามหาพรหม ณ น่าน : ภายหลังดำรงพระยศเป็น เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน (พ.ศ. 2398)
  2. เจ้าสุริยะ ณ น่าน  : ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็น พระเจ้านครเมืองน่าน (พ.ศ. 2446)
  3. เจ้าสิทธิสาร ณ น่าน : ภายหลังดำรงพระยศเป็น เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน (พ.ศ. 2436)
  4. เจ้าบุญรังษี ณ น่าน : ภายหลังดำรงพระยศเป็น เจ้าราชบุตรนครเมืองน่าน (พ.ศ. 2436)
  5. เจ้านางหมอกแก้ว ณ น่าน
  6. เจ้านางคำทิพ ณ น่าน

ราชโอรส ราชธิดา[แก้]

รายพระนามและรายนาม พระอัครราชเทวี ราชเทวี ชายา ในพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ พระเจ้านครเมืองน่าน ทรงมีพระชายา 7 องค์ มีราชโอรสและราชธิดา รวม 41 พระองค์ อยู่ในสกุล ณ น่านได้แก่

อัครราชเทวี ราชเทวี และ ชายา
ในพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ พระเจ้านครเมืองน่าน
ลำดับ ตำแหน่ง พระนาม ราชบุตร
1 อัครราชเทวี แม่เจ้ายอดหล้าอัครราชเทวี ประสูติราชบุตร 13 พระองค์
  1. เจ้าคำบุ
  2. เจ้าคำเครื่อง
  3. เจ้ายศ
  4. เจ้านางอัมรา
  5. เจ้าราชวงษ์ (เจ้ารัตน ณ น่าน)
  6. เจ้าน้อยบริยศ
  7. เจ้านางบัวเขียว
  8. เจ้าบุรีรัตน (อำมาตย์ตรีเจ้าสุทธิสาร ณ น่าน)
  9. เจ้าราชภาติกวงษ์ (เจ้าจันทวงษ์ ณ น่าน)
  10. เจ้าหนานบุญรังษี
  11. เจ้าราชภาคินัย (เจ้ามหาวงษ์ ณ น่าน)
  12. เจ้าราชดนัย (เจ้ายอดฟ้า ณ น่าน)
  13. เจ้านางสมุท
2 ราชเทวี แม่เจ้าคำปลิว ราชเทวี ประสูติราชบุตร 4 พระองค์ ถึงแก่กรรมทั้งหมด ตั้งแต่เยาว์วัย
3 ราชเทวี แม่เจ้าจอมแฟง ราชเทวี ประสูติราชบุตร 3 พระองค์
  1. เจ้านางบัวแว่น สมรสกับ เจ้าราชบุตร (เจ้าน้อยอนุรุท)
  2. เจ้าแหว
  3. เจ้าน้อยครุธ
4 ราชเทวี แม่เจ้าคำเกี้ยว ราชเทวี ประสูติราชบุตร 2 พระองค์
  1. เจ้านางเกี๋ยงคำ
  2. เจ้านางคำอ่าง
5 ราชชายา แม่เจ้ายอดหล้า ราชชายา ประสูติราชบุตร 7 พระองค์
  1. เจ้านางเทพมาลา
  2. เจ้านางเทพเกสร
  3. เจ้าน้อยอินแสงสี
  4. เจ้านางจันทวดี
  5. เจ้านางศรีสุภา
  6. เจ้านางดวงมาลา
  7. เจ้านางประภาวดี
6 หม่อม หม่อมศรีคำ ประสูติราชบุตร 5 พระองค์ ถึงแก่กรรมแต่เยาว์วัย 3 พระองค์
  1. เจ้านางบัวแก้ว
  2. เจ้าศรีพรหมาต่อมาได้เสกสมรสกับหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
7 หม่อม หม่อมบัว ประสูติราชบุตร 7 พระองค์
  1. หม่อมบัว มีราชโอรสธิดา 7 พระองค์
    ราชบุตรถึงแก่กรรม แต่เยาว์วัย 4 พระองค์
  2. เจ้านางต่อมแก้ว
  3. เจ้าก่ำ
  4. เจ้านางเกียรทอง

อิสริยยศ และเกียรติยศ[แก้]

ธรรมเนียมพระยศของ
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช)
การทูลไหว้สาบาทเจ้า
การแทนตนข้าบาทเจ้า
การขานรับบาทเจ้า
ลำดับโปเจียมรัชกาลที่ 13 แห่งราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์

อิสริยยศ[แก้]

พระอิสริยยศ[แก้]

พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช พระอิสริยยศ และพระยศทางทหาร ดังนี้

  1. พ.ศ. 2398 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นเจ้าราชวงษ์
  2. พ.ศ. 2431 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าอุปราชนครน่าน
  3. วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น เจ้านครน่าน มีราชทินนามว่า เจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุร มหาราชวงษาธิบดี เจ้านครเมืองน่าน[1]
  4. วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเลื่อนยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็นพระเจ้านครเมืองน่าน[2] มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฎว่า พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุระมหาราชวงษาธิบดี สุจริตจารีราชานุภาวรักษ์ วิบูลยศักดิกิตติไพศาล ภูบาลบพิตร์ สถิตย์ ณ นันทราชวงษ์ พระเจ้านครเมืองน่าน[3]
  • นับเป็นพระเจ้านครน่าน พระองค์แรกและพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์น่าน[4] นอกจากนี้พระองค์ยังได้รับพระราชทานมหามงกุฎจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเจ้าประเทศราชพระองค์เดียวที่ได้รับพระราชทานเกียรติยศนี้

พระยศทางทหาร[แก้]

  1. วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2448 โปรดเกล้าฯพระราชทาน สัญญาบัตรไปพระราชทานตั้งเป็นนายพันโทในกรมทหารบก[5]

พระสมัญญานาม[แก้]

พระเจ้าสุริยพงศ์ผริตเดชฯ มีพระนามอย่างลำลองตามที่ชาวเมืองน่านเรียกว่า พระเจ้าน่าน

เครื่องยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญราชอิสริยาภรณ์[แก้]

เครื่องยศ[แก้]

พระอิสริยยศ[แก้]

พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช ทรงได้รับพระราชทาน พระอิสริยยศ ดังนี้

  1. พ.ศ. 2398 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นเจ้าราชวงษ์
  2. พ.ศ. 2431 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าอุปราชนครน่าน
  3. วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2448 โปรดเกล้าฯพระราชทาน สัญญาบัตรไปพระราชทานตั้งเป็นนายพันโทในกรมทหารบก[6]
  4. วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น เจ้านครน่าน มีราชทินนามว่า เจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุร มหาราชวงษาธิบดี เจ้านครเมืองน่าน
  5. วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเลื่อนยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็นพระเจ้านครเมืองน่าน[7] มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฎว่า พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุระมหาราชวงษาธิบดี สุจริตจารีราชานุภาวรักษ์ วิบูลยศักดิกิตติไพศาล ภูบาลบพิตร์ สถิตย์ ณ นันทราชวงษ์ พระเจ้านครเมืองน่าน[8]
  • นับเป็นพระเจ้านครน่าน พระองค์แรกและพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์น่าน[9] นอกจากนี้พระองค์ยังได้รับพระราชทานมหามงกุฎจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเจ้าประเทศราชพระองค์เดียวที่ได้รับพระราชทานเกียรติยศนี้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

เหรียญราชอิสริยาภรณ์[แก้]

พระกรณียกิจ[แก้]

พระกรณียกิจ ในพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ที่ดูแลอาณาประชาราษฎร์ชาวนครเมืองน่าน และการแสดงถึงความจงรักภักต่อราชวงศ์จักรี[10] ดังนี้

  1. ในปี พ.ศ. 2395 ได้เป็นหัวน่าสร้างพลับพลาประทับแรมที่ตำบลนาริน ท้องที่อำเภอเมือง เมืองน่าน รวมเวลาทำจนเสร็จเดือน 1 แล้วลงไปรับเสด็จกรมหลวงวงศาธิราชสนิท ที่ท่าอิฐ เมืองพิไชยเสด็จขึ้นมานครน่านคราวเสด็จไปราชการทัพเมืองเชียงตุง รวมเวลาไปมา 10 วัน
  2. ในปี พ.ศ. 2396 ได้ตามเสด็จกรมหลวงวงษาธิราชสนิท ไปราชการทัพเมืองเชียงตุง รวมเวลาไปมา 7 เดือนเศษ
  3. ในปี พ.ศ. 2398 ได้นำตัวพญาหลวงบังคม พญาเมืองเชียงรุ้ง มาเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ กรุงเทพฯ รวมเวลาไปมา 4 เดือนเศษ
  4. ในปี พ.ศ. 2399 ได้ไปกวาดต้อนครอบครัวลื้อเมืองพง เขตสิบสองปันนา ซึ่งในเวลานั้นอยู่ในบังคับฮ่อ ให้เข้ามาอยู่ในเขตเมืองน่านประมาณ 1,000 คนเศษ ได้ตั้งภูมิลำเนาอยู่ที่เมืองเชียงม่วนและเมืองเชียงคำ ในปัจจุบัน รวมเวลาไปมา 5 เดือน
  5. ในปี พ.ศ. 2406 ได้คุมนางรมาดลงมาถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ กรุงเทพฯ รวมเวลาไปมา 4 เดือนเศษ
  6. ในปี พ.ศ. 2411 ได้คุมช้างพลายสีปลาดลงมาถวาย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ กรุงเทพฯ รวมเวลาไปมา 4 เดือนเศษ
  7. ในปี พ.ศ. 2416 ได้คุมนางรมาดลงมาถวาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ กรุงเทพฯ อิกครั้งหนึ่ง รวมเวลาไปมา 4 เดือนเศษ
  8. ในปี พ.ศ. 2430 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ไปจัดรวบรวมเสบียงอาหารที่เมืองเชียงคำ ส่งกองทัพนายพลโท เจ้าพระยาสุรศักดิมนตรี เมื่อครั้งเป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ เป็นแม่ทัพขึ้นมาปราบฮ่อที่เมืองหลวงพระบาง และได้ไปในกองทัพด้วย รวมเวลาที่จัดการลำเลียงส่งเสบียงอาหารแลไปมา 4 เดือนเศษ

การแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสยาม[แก้]

หอไตรวัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร พระอารามหลวง จังหวัดน่าน

หอไตรวัดช้างค้ำวรวิหาร สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ พระเจ้านครเมืองน่าน ดังปรากฏในพระประวัติ ของพระองค์ว่า "ร.ศ. 127 พ.ศ. 2453 ก่อสร้างหอพระไตรปิฏก ในบริเวณวัดช้างค้ำ 1 หลัง 8 ห้อง ยาว 16 วา 1 ศอก กว้าง 5 วา 2 ศอก สูงตั้งแต่ดินถึงอกไก่ 13 วา หลังคาทำเป็นชั้น ๆ ก่ออิฐทาสี เครื่องบนไม้สัก มุงกระเบื้องไม้สัก ทำอย่างแน่นหนา มีเพดานจั่ว 2 ข้าง และเพดาน ทำด้วยลวดลายต่าง ๆ พระสมุห์อิน เจ้าอาวาสวัดหัวข่วง กับจีนอิ๋วจีนซาง เป็นสล่าสิ้นเงิน 12,558 บาท

ลักษณะ โครงสร้างสถาปัตยกรรมมีลักษณะอย่างเดียวกับวิหารและโบสถ์ ตั้งอยู่ด้านหน้า คู่กับ พระวิหารหลวง อาคารก่ออิฐโบกปูน ยกพื้นสูงมีสิงห์ยืนอยู่ด้านหน้า ตรงเชิงบันใดด้านละ 1 ตัว ตั้งเสาราย รับหลังคาเชิงชายแทนผนัง และก่อผนังปิด ทำเป็นห้องไว้พระธรรม และพระไตรปิฏก ตรงแนวเสาที่รับคาน มีทางเข้าด้านหน้าเป็นประตูทางเดียว บานประตูสลักเป็นรูปเทวดา 2 องค์ และมีลายปูนปั้น เป็นรูปยอดปราสาท ทำเป็นชั้นติดหน้าต่างด้านละ 3 บาน ผนังด้านหลังปิดทึบ ด้านนอกสองข้างทาง ระหว่างเสารายและผนัง เป็นทางเดินถึงกันได้ตลอดโดยรอบ อาคารสูงหลังคาช้อน 3 ชั้น ไม่มีมุขลด ที่หน้าบัน ใช้แผ่นไม้เรียงต่อกัน เป็นแผ่นๆ ประดับลายปูนปั้น เป็นรูปกนกล้อพระยาครุฑ ระหว่างช่วงเสาประดับด้วยแผ่นไม้จำหลัก ลายกนก เป็นรูปสามเหลี่ยม สลับลายพุ่มข้าวบิณฑ์คว่ำ และรูปพระยาครุฑห้อยลงมาตามแบบสถาปัตยกรรมของล้านนา ภายในมีลักษณะส่วนกว้างแคบ ส่วนยาวลึก เข้าไปภายใน และส่วนสูงชะลูดขึ้นไปมาก ใช้เป็นที่เก็บ พระไตรปิฏก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นใบลาน จารอักษรตัวธรรมมีอยู่เป็นจำนวนมาก ปัจจุบันได้ปรับปรุงเป็นวิหาร ใช้เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธนันทบุรีศรีศากยมนี

หน้าบัน มีแกะสลัก เล่นตัวย่อที่นิยมในสมัยนั้นว่า "พจ.น.พ.ร.ช.ก.ศ.ถ. พพ.ธ.จ.ลฯะ" อันแปลว่า "พระเจ้าน่านพระราชกุศลถวายพระพุทธเจ้าหลวง"

อ้างอิง[แก้]

พระเจ้ามหาพรหมสุรธาดา[แก้]

สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี
(พระเจ้ามหาพรหมสุรธาดาราชาธิราช)
พระเจ้านครเมืองน่าน พระองค์ที่ 14
ราชาภิเษก21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436
พระอิสริยยศพระเจ้านครเมืองน่าน
ฐานันดรศักดิ์พระเจ้าประเทศราช
ครองราชย์21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436 - 5 เมษายน พ.ศ. 2461
รัชกาล25 ปี
ราชวงศ์ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
ปฐมราชสกุลณ น่าน สายที่ 3
ก่อนหน้าสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช
ถัดไปสมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี พระเจ้าหมอกฟ้านันทวรราชา
ประสูติ2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2374
พิราลัย5 เมษายน พ.ศ. 2461
คุ้มหลวงนครน่าน
อัครราชเทวีสมเด็จเจ้านางศรีโสภา พระอัครราชเทวี
ราชเทวี2 พระองค์
พระราชบุตร9 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระบรมนันทราชาธิบดี ศรีสุริยาภิชาตินันทกูลวงศ์ พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุระมหา ราชวงษาธิบดี สุจริตจารีราชานุภาวรักษ์ วิบุลยศักดิกิตติไพศาล ภูบาลบพิตร์ สถิตย์ ณ นันทราชวงษ์
พระราชบิดาสมเด็จพระบิดานันทราชาธิบดี พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ พระชนก
พระราชมารดาสมเด็จพระมาดา เจ้าขอดแก้วราชเทวี พระชนนี

ฐานันดรศักดิ์เจ้านายเมืองน่าน[แก้]

การกำหนดศักดินา[แก้]

เดิมสิทธิ์ในการถือครองแผ่นดินและทรัพย์สินในแผ่นดินทั้งหมดถืออยู่ในพระราชอำนาจของพระเจ้าประเทศราช ที่จะพระราชทานให้เจ้านายหรือราษฎรใดก้ได้ อย่างไรก็ตามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ราชสำนักสยามได้พยายามเข้ามามีบทบาทเพื่อควบคุมการปกครองฝ่ายเหนือ จึงได้มีการกำหนดศักดินาพระราชทานแก่เจ้านาย พระยา ท้าวแสน หัวเมืองประเทศราชขึ้น ดังนี้ [11]

ฐานันดรศักดิ์เจ้านายนครเมืองน่าน
เจ้าหลวง
พระเจ้าประเทศราช : ศักดินา 15,000
เจ้าประเทศราช : ศักดินา 10,000
พระยาประเทศราช : ศักดินา 8,000
แม่เจ้า
อัครราชเทวี 1 ตำแหน่ง
ราชเทวี 2 ตำแหน่ง
หม่อม (ไม่จำกัด)
เจ้าอุปราช : ศักดินา 5,000
พระยาอุปราช: ศักดินา 3,000
เจ้าราชวงษ์ : ศักดินา 3,000
พระยาราชวงษ์: ศักดินา 2,400
เจ้าบุรีรัตน์ : ศักดินา 2,400
พระยาบุรีรัตน์ : ศักดินา 2,000
เจ้าสุริยวงษ์ : ศักดินา 2,000
พระยาสุริยวงษ์: ศักดินา 1,600
เจ้าราชภาติกวงษ์  : ศักดินา 2,000
เจ้าราชภาคินัย : ศักดินา 2,000
เจ้าราชดนัย : ศักดินา 2,000
เจ้าราชสัมพันธวงศ์ : ศักดินา 2,000
เจ้าราชบุตร : ศักดินา 2,000
เจ้าอุตรการโกศล : ศักดินา 1,600
เจ้าประพันธพงษ์ : ศักดินา 1,600
เจ้าไชยสงคราม : ศักดินา 1,600
เจ้าราชญาติ : ศักดินา 1,600
เจ้าวรญาติ : ศักดินา 1,600

พระนาม เจ้าอุปราช นครเมืองน่าน[แก้]

เจ้านายที่ได้พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาอุปราช , เจ้าอุปราช นครเมืองน่าน ดังนี้
ลำดับ พระนาม ดำรงพระยศ
1 เจ้าพระยาอุปราชนครเมืองน่าน (เจ้าสุมณะ) พ.ศ. 2331 - 2353 (22 ปี)
2 เจ้ามหาอุปราชา (เจ้ามหาวงษ์) พ.ศ. 2331 - 2353 (22 ปี)
2 เจ้าพระยาอุปราชนครเมืองน่าน (เจ้ามหาพรหม ณ น่าน) พ.ศ. 2390 - (- ปี)
3 เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน (เจ้าสุยะ ณ น่าน) พ.ศ. 2431 - 2436(- ปี)
4 เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน (เจ้าสุทธิสาร ณ น่าน) พ.ศ. 2436 - 2442 (6 ปี)
5 เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน (เจ้ามหาพรหม ณ น่าน) พ.ศ. 2442 - 2461 (19 ปี)

พระนาม เจ้าราชวงษ์ นครเมืองน่าน[แก้]

เจ้านายที่ได้พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาราชวงษ์ , เจ้าราชวงษ์ นครเมืองน่าน ดังนี้
ลำดับ พระนาม ดำรงพระยศ
1 เจ้าพระยาราชวงษ์ (เจ้าอชิตวงษ์) พ.ศ. - (9 ปี)

ยศศักดิ์ ขุนในสำนักคุ้มหลวงนครเมืองน่าน[แก้]

พระนามเจ้าผู้ครองนครน่าน

ทำเนียบยศศักดิ์ ขุนในสำนักคุ้มหลวงนครน่าน
กิจการภายในสำนักคุ้มหลวงเจ้าผู้ครองนครน่าน
อาจแบ่งออกได้เป็น 5 แผนก
คือ แผนกวัง , แผนกเสมียนตรา , แผนกมณเฑียรและอาสนะ , แผนกการกุศล , แผนกรับใช้
แผนกวัง
หน้าที่รับผิดชอบ
ควบคุมตรวจตรากิจการภายในคุ้มทุกอย่าง รักษาความสงบเรียบร้อยภายในคุ้ม พิทักษ์ตัวเจ้าผู้ครองนครด้วยกำลังคน เจ้าใช้การใน ที่มีประจำอยู่ จัดพิธีออกพญาแสนท้าวในคราวที่ประกอบเป็นเกียรติยศ พิธีออกแขกเมือง – ต้อนรับแขกเมือง จัดกองเกียรติยศเมื่อเจ้าผู้ครองนครออกประพาส
แผนกเสมียนตรา
หน้าที่รับผิดชอบ
ทำหนังสือของเจ้าผู้ครองนครที่จะมีไปในที่ต่างๆ และรับคำสั่งอาชญาที่จะแจ้งไปให้สนามทราบกับมีหน้าที่เก็บสรรพหนังสือภายในหอค
แผนกมณเฑียรและอาสนะ
หน้าที่รับผิดชอบ
พิทักษ์ดูแลหอคำและเรือนโรงของเจ้าผู้ครองนครและบูรณะปฏิสังขรณ์เมื่อชำรุด กับมีหน้าที่แต่งตั้งอาสนะเมื่อเจ้าผู้ครองนครออกประพาสไปประทับ ณ ที่ใดที่หนึ่ง
เสนาบดี และเจ้ากรมต่างๆ ในนครเมืองน่าน
มีทั้งหมด 4 ตำแหน่ง เรียกว่า พ่อเมืองทั้ง 4
หน้าที่ดูแลงานทั่วทั้งเมือง
กรมว่าการทั่วไป
พระยาหลวงนัตติยราชวงศา : อธิบดีกรมว่าการทั่วไป

พระยาราชเสนา : เจ้ากรมว่าการทั่วไป
พระยาไชยสงคราม : เจ้ากรมว่าการทั่วไป
พระยาทิพเนตร : เจ้ากรมว่าการทั่วไป
พระยาไชยราช : เจ้ากรมว่าการทั่วไป
กรมโหรประจำเมือง
พระยาหลวงราชบัณฑิต : เสนาบดีกรมโหรประจำเมือง
พระยาสิทธิมงคล : เจ้ากรมโหรประจำเมือง
กรมศุภอักษร
พระยาหลวงศุภอักษร  : อธิบดีกรมศุภอักษร
พระยามีรินทอักษร : เจ้ากรมศุภอักษร
พระยาพรหมอักษร : เจ้ากรมศุภอักษร
กรมการคลัง
พระยาหลวงคำลือ : เสนาบดีกรมการคลัง
พระยาสิทธิธนสมบัติ : เจ้ากรมการคลัง
พระยาราชสาร : เจ้ากรมการคลัง
พระยาราชสมบัติ : เจ้ากรมการคลัง
พระยาธนสมบัติ : เจ้ากรมการคลัง
กรมฉางข้าวหลวง
พระยาหลวงราชภักดี : เสนาบดีกรมฉางข้าวหลวง
พระยาราชโกฏ  : เจ้ากรมฉางข้าวหลวง
พระยาแขก : เจ้ากรมฉางข้าวหลวง
พระยาราชรองเมือง : เจ้ากรมฉางข้าวหลวง
พระยาราชสมบัติ : เจ้ากรมฉางข้าวหลวง
พระยาอินต๊ะรักษา : เจ้ากรมฉางข้าวหลวง
พระยานาหลัง : เจ้ากรมฉางข้าวหลวง
กรมฝ่ายตุลาการ
พระยาหลวงจ่าแสนราชธรรมดุลย์ : เสนาบดีกรมฝ่ายตุลาการ
พระยาสิทธิเดช : เจ้ากรมฝ่ายตุลาการ
พระยานราสาร : เจ้ากรมฝ่ายตุลาการ
พระยาไชยพิพิธ : เจ้ากรมฝ่ายตุลาการ
กรมนายช่างโยธา
พระยาหลวงไชยปัญญา : เสนาบดีกรมนายช่างโยธา
พระยาไชยปัญญา : เจ้ากรมนายช่างโยธา
กรมธรรมการ
พระยาหลวงธรรมราช : เสนาบดีกรมธรรมการ
กรมการเมือง,ฝาย
พระยาหลวงหลวงเมฆสาคร : เสนาบดีกรมการเมือง,ฝาย

ราชวงศ์ภูคา[แก้]

ราชวงศ์ภูคา
ไฟล์:แผนที่น่าน 1830.jpg
แผนที่ของนครรัฐน่าน
สมัยพญาเก้าเกื่อน (พ.ศ. 1830)
พระราชอิสริยยศกษัตริย์น่าน
ปกครองเวียงวรนคร
เชื้อชาติกาว
ประมุขพระองค์แรกพญาภูคา
ประมุขพระองค์สุดท้ายพญาผาแสง
สถาปนาพ.ศ. 1825
ล่มสลายพ.ศ. 1911
ราชวงศ์ถัดไปราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์

ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์หรือ นันทราชวงศ์ หรือ ราชวงศ์หลวงติ๋นมหาวงษ์ เป็นราชวงศ์ที่ปกครองนครน่าน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2269 ถึง พ.ศ. 2474 รวมระยะเวลา 205 ปี

อ้างอิง[แก้]

  1. "สถาปนาเป็นเจ้านครเมืองน่าน" (PDF). สถาปนาเป็นเจ้านครเมืองน่าน. 20 (35): 609. 29 พฤศจิกายน 2436.
  2. "การตั้งพระเจ้านครเมืองน่าน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 20 (35): 609. 29 พฤศจิกายน 2446.
  3. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งพระเจ้านครเมืองน่าน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 20 (35): 610. 29 พฤศจิกายน 2446.
  4. http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/nan5.htm
  5. "ส่งสัญญาบัตรทหารบกไปพระราชทาน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 22 (12 ง): 246. 18 มิถุนายน ร.ศ. 124. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน พ.ศ. 2561. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  6. "ส่งสัญญาบัตรทหารบกไปพระราชทาน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 22 (12 ง): 246. 18 มิถุนายน ร.ศ. 124. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน พ.ศ. 2561. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  7. "การตั้งพระเจ้านครเมืองน่าน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 20 (35): 609. 29 พฤศจิกายน 2446.
  8. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งพระเจ้านครเมืองน่าน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 20 (35): 610. 29 พฤศจิกายน 2446.
  9. http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/nan5.htm
  10. "ประชุมพงษาวดารภาคที่ 10". ประชุมพงษาวดารภาคที่ ๑๐ เรื่อง ราชวงษปกรณ์ พงษาวดารเมืองน่าน ฉบับพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ พระเจ้านครน่าน ทรงให้แต่งไว้สำหรับนครเมืองน่าน. 10 กุมภาพันธ์ 2461.
  11. พระราชบัญญัติศักดินาเจ้านาย พระยาท้าวแสนเมืองประเทศราช