ทิสานาฏ ศรศึก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทิสานาฏ ศรศึก
เกิด5 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 (30 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ส่วนสูง1.65 เมตร (5 ฟุต 5 นิ้ว)
อาชีพ
  • นักแสดง
  • นางแบบ
ปีที่แสดงพ.ศ. 2552–ปัจจุบัน
ผลงานเด่นราชาวดี - เสือสั่งฟ้า 2 พยัคฆ์ผยอง (2556)
เนื้อทอง - อาญารัก (2556)
น้อย - คมพยาบาท (2557)
ปริตา - กุหลาบเล่นไฟ (2557)
จันกะพ้อ - อตีตา (2559)
ดอกสร้อย - สาปดอกสร้อย (2559)
ดาวเรือง - สายโลหิต (2561)
แขวลัย - นางร้าย (2562)
ปิ่นปัก - หัวใจลูกผู้ชาย (2562)
โบว์ - วงเวียนหัวใจ (2564)
เมขลา - แม่เบี้ย (2564)
ทาวดี - สร้อยนาคี (2566)
สังกัดสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (2554–2565)
รางวัล
พระสุรัสวดีนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
พ.ศ. 2553 - เลิฟ จุลินทรีย์ รักมันใหญ่มาก
สุพรรณหงส์นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
พ.ศ. 2553 - เลิฟ จุลินทรีย์ รักมันใหญ่มาก
ชมรมวิจารณ์บันเทิงนักแสดงหญิงยอดนิยม
พ.ศ. 2562 - หัวใจลูกผู้ชาย
โทรทัศน์ทองคำนักแสดงสนับสนุนหญิงดีเด่น
พ.ศ. 2564 - เเม่เบี้ย
เมขลามณีเมขลาสาขานักเเสดงมากฝีมือ
พ.ศ. 2564 - เเม่เบี้ย
เทพทองนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ประเภทละครโรแมนติก
พ.ศ. 2564 - เเม่เบี้ย
พิฆเนศวรนักเเสดงนำหญิงดีเด่น
พ.ศ. 2559 - อตีตา
นักเเสดงดาวรุ่งหญิงดีเด่น
พ.ศ. 2561 - ละอองดาว

ทิสานาฏ ศรศึก (เกิด 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2536) ชื่อเล่น นาว เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย อดีตสังกัดสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7[1][2][3]

ประวัติ[แก้]

ทิสานาฏ ศรศึก เกิดเมื่อ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากผู้จัดการส่วนตัวดาราโดยบังเอิญ[4] ไปเจอนาวกำลังเดินอยู่กับคุณแม่ของเธอ ผลงานครั้งแรกเริ่มจากการถ่ายแบบและแสดงมิวสิควิดีโอหลายเพลง อีกทั้งยังได้แสดงภาพยนตร์เรื่อง เลิฟ จุลินทรีย์ รักมันใหญ่มาก[5] ก่อนที่จะเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2554 และมีผลงานละครเรื่องแรกเรื่อง หอบรักมาห่มป่า คู่กับชนะพล สัตยา ต่อด้วย เสือสั่งฟ้า 2 พยัคฆ์ผยอง คู่กับวงศกร ปรมัตถากร และ อาญารัก ซึ่งทำให้ทิสานาฏเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น ในปี พ.ศ. 2557 ทิสานาฏได้พลิกบทบาทมารับบทที่แรงขึ้นใน กุหลาบเล่นไฟ[6][7]

การศึกษา[แก้]

  • จบปริญญาตรี : วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรุงเทพ ความสามารถพิเศษ คือ รำนาฏศิลป์ไทย[8][9]

ผลงาน[แก้]

ละครโทรทัศน์[แก้]

  • ละครโทรทัศน์ทั้งหมดด้านล่างนี้ออกอากาศทางช่อง 7
ปี พ.ศ. เรื่อง บทบาท หมายเหตุ
2554 หอบรักมาห่มป่า ดาหวัน
2556 เสือสั่งฟ้า 2 พยัคฆ์ผยอง ราชาวดี
อาญารัก เนื้อทอง (หนูติ๋ว)
ยมบาลเจ้าขา สายรุ้ง
2557 คมพยาบาท มารยาท บัวแย้ม (น้อย) / เอื้อย
กุหลาบเล่นไฟ ปริตา นภารัตน์ (อ้อม)
2559 อตีตา จันกะพ้อ / เพนนี (เพ็ญ)
สาปดอกสร้อย ดอกสร้อย
2560 ละอองดาว ละอองดาว เบญจรงค์ (แตน) / เจ้าหญิงละอองดาว นภดล
2561 สายโลหิต ดาวเรือง
2562 นางร้าย แขวลัย บัวแตง
หัวใจลูกผู้ชาย ปิ่นปัก
ดวงใจขบถ เจ้าแสงจันทา (เจ้าจ้อย)
มธุรสโลกันตร์ รับเชิญ
2564 วงเวียนหัวใจ บุปผชาติ พิมุขโยธกานต์ (โบว์)
แม่เบี้ย เมขลา พลับพลา (เมย์)
2566 สร้อยนาคี ทาวดี

ละครเทิดพระเกียรติ[แก้]

ปี เรื่อง บทบาท
2554 รักพระเจ้าอยู่หัว : น้ำ (ละครเทิดพระเกียรติ) ปันฝัน
2556 สายใย (ละครเทิดพระเกียรติ) เม็ดนุ่น

ภาพยนตร์[แก้]

ปี เรื่อง บทบาท
2554 เลิฟ จุลินทรีย์ รักมันใหญ่มาก นาว
2560 Memoir ฮัลโหล… จำเราได้ไหม ดารณี

เพลง[แก้]

พ.ศ. เพลง ร้องร่วมกับ หมายเหตุ
2559 อุ่นไออาทร ศุกลวัฒน์ คณารศ
วงศกร ปรมัตถากร
มิกค์ ทองระย้า
ภัทรพลฒ์ เดชพงษ์วรานนท์
อุษามณี ไวทยานนท์
พิมประภา ตั้งประภาพร
เมลดา สุศรี
เพลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ แม่ของแผ่นดิน

มิวสิกวิดีโอ[แก้]

ปี เพลง ศิลปิน หมายเหตุ
2552 เสียงลมหายใจ ปราโมทย์ วิเลปะนะ (โมทย์)
2553 กันเอง นภัทร อินทร์ใจเอื้อ (กัน The Star 6)
2554 ไม่อยากได้ยินเสียงเธอ สหรัฐต์ หิรัญญ์ธนภูวดล (สิงโต The Star 5)
เบอร์สอง สันต์ ภิรมย์ภักดี (เต้)

รางวัล[แก้]

ปี รางวัล สาขา ผลรางวัล ผลงานที่เข้าชิง
2556 รางวัลพระราชทาน เนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติ สาขาศิลปวัฒนธรรม[10] ชนะ
2558 มายา มหาชน 2015 ดาราดาวรุ่งหญิง ขวัญใจมหาชน ชนะ อตีตา
2562 ดารา วาไรตี้ อวอร์ด 2019 นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ชนะ สายโลหิต
เณศไอยรา ประจำปี 2562 นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม[11] ชนะ
ทูตคิดใสไอดอล ปี 2562 สาขาศิลปวัฒนธรรม[12] ชนะ
2563 เอเชียน ทีวี อวอร์ดส ครั้งที่ 24 นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม[13] ชนะ นางร้าย
2565 Global Star Media Awards 2022 นักแสดงนำหญิงยอดนิยม ชนะ แม่เบี้ย
นาคเณศ NAGANES ประจำปี ๒๕๖๕ นักแสดงนำหญิงเจ้าเสน่ห์ยอดเยี่ยม
คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 18 สาขาละครโทรทัศน์และซีรีส์ - นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เสนอชื่อเข้าชิง
Fever Awards 2021 นักแสดงนำหญิง ฟีเวอร์ 2021
รางวัลเกียรติยศมณีเมขลา ครั้งที่ 3 ประจำปี 2565' รางวัลนักแสดงหญิงดีเด่น
Maya Entertain Awards 2022' ดารานำหญิงแห่งปี
นาฏราช ครั้งที่ 13 ประจำปี 2564 นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
รางวัลตรีเทพทองคำ ครั้งที่ 1 นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ประเภทละครโรแมนติคดราม่า ชนะ

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประวัติดาราวัยรุ่น นาว ทิสานาฏ ศรศึก". teen.mthai.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-27. สืบค้นเมื่อ 24 August 2020.
  2. "เปิดประวัติ นาว ทิสานาฏ ศรศึก นางเอกใหม่ช่อง 7". popcornfor2.com. สืบค้นเมื่อ 24 August 2020.
  3. "นาว ทิสานาฏ ศรศึก สาวน้อย หน้าใส จากวิทยาลัยนาฏศิลป์". sanook.com/. สืบค้นเมื่อ 24 August 2020.
  4. อินสตาแกรมคุณเก๋ ผู้จัดการส่วนตัวนักแสดง
  5. "Love Julinsee / เลิฟ จุลินทรีย์ รักมันใหญ่มาก". mgronline.com. สืบค้นเมื่อ 24 August 2020.
  6. "'วีรภาพ'คั่ว3นางเอก'นาว-โบว์-เซฟ' เพื่อนรักหักสวาทใน"กุหลาบเล่นไฟ"". thairath.co.th. สืบค้นเมื่อ 24 August 2020.
  7. "นาว ทิสานาฎ นางเอก กุหลาบเล่นไฟ". entertain.teenee.com. สืบค้นเมื่อ 24 August 2020.
  8. "เรียนจบแล้ว! นาว ทิสานาฏ คว้าปริญญาตรีจากวิทยาลัยนาฎศิลป์". teen.mthai.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-27. สืบค้นเมื่อ 24 August 2020.
  9. "ย้อนวัยเรียน "นาว ทิสานาฏ" อัปเดต ยินดีกับ นาว จบ ป.ตรีใส่ชุดครุยน่ารักสดใสมาก!". campus.campus-star.com. สืบค้นเมื่อ 24 August 2020.
  10. "นาว ทิสานาฏ รับรางวัลพระราชทานเยาวชนดีเด่น ประจำปี 2556". youtube. สืบค้นเมื่อ 18 March 2020.
  11. "ดาราตบเท้ารับรางวัล"เณศไอยรา" ประจำปี 2562 กรงกรรม ยังแรง". fm91bkk. สืบค้นเมื่อ 18 March 2020.
  12. "นาว ทิสานาฏ ศรศึก – ทูตคิดใสไอดอล ด้านศิลปวัฒนธรรม". kidssai. สืบค้นเมื่อ 18 March 2020.
  13. "นาว-ทับทิม นำทีมบันเทิงไทย ตบเท้ารับรางวัล เอเชี่ยน เทเลวิชั่นอวอร์ด ครั้งที่ 24". matichon.co.th. 13 January 2020. สืบค้นเมื่อ 15 January 2020.