ดนตรีประกอบของแกรนด์เธฟต์ออโต V
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
ดนตรีประกอบสำหรับวิดีโอเกมชุด แกรนด์เธฟต์ออโต V ซึ่งพัฒนาโดยร็อกสตาร์ นอร์ธและจัดจำหน่ายโดยร็อกสตาร์ เกม ถูกแต่งขึ้นโดย The Alchemist, Oh No และ Tangerine Dream ในความร่วมมือกับ Woody Jackson โดยเป็นเกมชุดแรกของเกมชุดแกรนด์เธฟต์ออโต ที่มีการแต่งดนตรีประกอบแบบดั้งเดิมเข้าไป ภายใต้ความร่วมมือกับนักดนตรีรายอื่น ๆ มีการผลิตดนตรีประกอบยาวกว่ายี่สิบชั่วโมงที่ใช้บรรเลงในภารกิจของเกม บางส่วนของงานดนตรีประกอบที่ผลิตนั้นผลิตขึ้นมาระหว่างที่เกมกำลังพัฒนาซึ่งเกิดจากการใช้ภารกิจภายในเกมเป็นแรงบรรดาลใจในการแต่งดนตรีประกอบภารกิจและบทพูดบางอันได้กลายเป็นแรงบบรดาลใจต่อการแต่งดนตรีประกอบสำหรับเกมในอนาคต แกรนด์เธฟต์ออโต V ยังมีวิทยุภายในเกมที่มีจำนวน 16 สถานีที่เล่นดนตรีประกอบที่มีลิขสิทธิกว่า 441 เพลง รวมทั้งสถานีวิทยุพูดคุย 2 สถานี
ดนตรีประกอบภายในวิดีโอเกมมีการวางจำหน่ายเป็นอัลบั้มดนตรีประกอบอย่างเป็นทางการอยู่ 3 อัลบั้มในชื่อ The Music of Grand Theft Auto V โดยวางจำหน่ายพร้อมกับการวางจำหน่ายวิดีโอเกม ทั้งสามอัลบั้มนั้นประกอบไปด้วยดนตรีประกอบที่แต่งขึ้นมาโดยเฉพาะและดนตรีประกอบบางส่วนจากวิทยุภายในเกม อัลบั้ม The Cinematographic Score — GTA 5, คืออัลบั้มดนตรีประกอบแนวอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งวางจำหน่ายในเดือนมีนาคม 2014 ซึ่งแต่งและผลิตโดยผู้ก่อตั้งของ Tangerine Dream คือ Edgar Froese ส่วนอัลบั้ม Welcome to Los Santos นั้นวางจำหน่ายพร้อมกับเกมรุ่นที่ลงให้กับไมโครซอพท์ วินโดวส์ โดยมาพร้อมกับดนตรีประกอบจาก "The Lab" สถานีวิทยุในวิดีโอเกมซึ่งผลิตโดย The Alchemist และ Oh No คำวิจารณ์สำหรับอัลบั้มเหล่านี้เป็นไปในแง่บวกและนักวิจารณ์รู้สึกว่าดนตรีที่เชื่อมต่อกับการเล่นเกมอย่างเหมาะสม
อัลบั้มดนตรีประกอบ
[แก้]The Music of Grand Theft Auto V
[แก้]The Music of Grand Theft Auto V | ||||
---|---|---|---|---|
ดนตรีประกอบ โดย รวมศิลปิน | ||||
วางตลาด | 24 กันยายน 2013 | |||
สตูดิโอ |
| |||
แนวเพลง | ดนตรีประกอบ | |||
ความยาว | 216:13 (เต็มอัลบั้ม) 63:17 (ชุดที่ 1) 78:40 (ชุดที่ 2) 74:16 (ชุดที่ 3) | |||
ค่ายเพลง | ||||
โปรดิวเซอร์ |
| |||
ลำดับผลงานของร็อกสตาร์ เกม | ||||
| ||||
The Music of Grand Theft Auto V วางจำหน่ายผ่านช่องทางดิจิทัลในวันที่ 24 กันยายน 2013 ในจำนวน 3 ชุด ประกอบไปด้วยเพลงที่แต่งมาเพื่อเกมโดยเฉพาะและเพลงที่ได้รับลิขสิทธิซึ่งคัดเลือกมาจากสถานีวิทยุในวิดีโอเกม โดยวางจำหน่ายในร้านค้าเมื่อ 9 ธันวาคม 2014 ในรูปแบบซีดีและแผ่นเสียง ซึ่งผลิตโดย Mass Appeal Records[2]
ในบริบทของเกม The Music of Grand Theft Auto V ได้รับคำวิจารณ์อย่างดี โดย Jim Sterling จาก Destructoid ถือว่าเป็นการออกแบบเสียงภายในเกม "ไร้ที่ติ",การกำกับเกมมีส่วนเสริมสร้างเพลงให้ดียิ่ง[3] บรรณาธิการของนิตยสาร Edge เขียนว่าเพลงที่ได้ลิขสิทธิ์มานั้น "เพิ่มคุณค่าให้ลอส แซนโตส' และยังสร้างความรู้สึกในพื้นที่ได้อย่างหน้าทึ่ง" และพิจารณาว่าเพลงที่แต่งมาเพื่อเกมโดยเฉพาะนั้นช่วยเพิ่มบรรยากาศของการเล่นเกม,[4] การวิจารณ์ย้อนหลังกล่าวว่า
"...เฉพาะการเล่นย้อนหลังของภารกิจใน GTAV' ที่คุณจะสามารถซาบซึ้งในความซับซ้อน พลังที่แสดงออกแบบ [Rockstar's] มีจังหวะอย่างมากในการที่ทำให้เป้าหมายของวิดีโอเกมที่มีอายุสามารถผประสบความสำเร็จในการสร้างความรู้สึกแบบที่กำลังเล่นภาพยนตร์ได้"[5]
Carolyn Petit จาก เกมสปอตยังคิดว่าเพลงเหล่านี้ "เพิ่มรสชาติให้กับภารกิจให้เป็นมากกว่าภาพยนตร์"[6] ในขณะที่ Jeff Gerstmann จาก Giant Bomb กล่าวว่าดนตรีประกอบเหล่านี้ช่วยเพิ่มความตึงเครียดระหว่างการปฏิบัติภารกิจ[7] Keza MacDonald จาก ไอจีเอ็น แสดงความคิดเห็นว่าการเลือกเพลงที่ได้ลิขสิทธิ์เพื่อมาประกอบอัลบั้มนั้นทำได้ดียิ่ง และเห็นด้วยที่เพลงซึ่งแต่งมาเพื่อเกมโดยเฉพาะนั้นมีส่วนก่อให้เกิดความตึงเครียดระหว่างการทำภารกิจ[8] Tshepo Mokoena ของเดอะการ์เดียน ถือว่าดนตรีประกอบหล่านี้ "เข้าไม่ถึงจุดตึงเครียด แต่ก็ถือว่าเพียงพอแล้ว"[9] โดย The Music of Grand Theft Auto V มีอันดับสูงสุดที่อันดับ 11 ในชาร์ตดนตรีประกอบของบิลบอร์ดเมื่อสุดสัปดาห์ของวันที่ 12 ตุลาคม 2013[10]
ลำดับ | ชื่อเพลง | ยาว |
---|---|---|
1. | "Welcome to Los Santos" (Oh No) | 2:34 |
2. | "Smokin' and Ridin'" (BJ the Chicago Kid featuring Freddie Gibbs & Problem) | 3:32 |
3. | "Old Love / New Love" (Twin Shadow) | 3:53 |
4. | "Change of Coast" (Neon Indian) | 3:12 |
5. | "Nine is God" (Wavves) | 4:57 |
6. | "Bassheads" (Gangrene) | 2:45 |
7. | "Stonecutters" (Flying Lotus) | 4:18 |
8. | "High Pressure Dave" (HEALTH) | 3:15 |
9. | "What's Next?" (OFF!) | 2:09 |
10. | "Garbage" (Tyler, The Creator) | 3:28 |
11. | "Nowhere to Go" (Nite Jewel) | 3:59 |
12. | "R - Cali" (A$AP Rocky) | 2:19 |
13. | "Colours" (Age of Consent) | 4:23 |
14. | "Hold Up" (Marion Band$ featuring Nipsey Hussle) | 3:52 |
15. | "Life of a Mack" (100s) | 3:24 |
16. | "The Set Up" (Favored Nations) | 4:03 |
17. | "Don't Come Close" (Yeasayer) | 3:28 |
18. | "Sleepwalking" (The Chain Gang of 1974) | 3:38 |
ความยาวทั้งหมด: | 63:17 |
ลำดับ | ชื่อเพลง | ยาว |
---|---|---|
1. | "We Were Set Up" | 3:31 |
2. | "A Legitimate Business Man" | 2:57 |
3. | "A Haze of Patriotic Fervor" | 5:30 |
4. | "Los Santos at Night" | 1:43 |
5. | "North Yankton Memories" | 4:02 |
6. | "The Grip" | 3:10 |
7. | "Mr. Trevor Philips" | 4:25 |
8. | "A Bit of an Awkward Situation" | 4:42 |
9. | "No Happy Endings" | 5:19 |
10. | "His Mentor" | 1:27 |
11. | "(Sounds Kind of) Fruity" | 4:44 |
12. | "Minor Turbulence" | 4:33 |
13. | "Chop the Dog" | 4:11 |
14. | "A Lonely Man" | 3:32 |
15. | "You Forget a Thousand Things" | 3:36 |
16. | "Impotent Rage / Am I Being Clear Now?" | 2:08 |
17. | "Fresh Meat" | 4:03 |
18. | "Therapy and Other Hobbies" | 0:57 |
19. | "Rich Man's Plaything" | 4:06 |
20. | "The Agency Heist" | 3:22 |
21. | "Hillbilly Crank Dealers' Blues" | 5:19 |
22. | "Welcome to Los Santos (Outro)" | 1:11 |
ความยาวทั้งหมด: | 78:40 |
ลำดับ | ชื่อเพลง | ยาว |
---|---|---|
1. | "The Kill" (Flying Lotus featuring Niki Randa) | 3:25 |
2. | "I Am a Madman" (Lee "Scratch" Perry) | 5:48 |
3. | "Jasmine" (Jai Paul) | 4:10 |
4. | "I Get Lifted" (George McCrae) | 2:44 |
5. | "What You Wanna Do" (Kausion) | 4:08 |
6. | "Can't Hardly Stand It" (Charlie Feathers) | 2:48 |
7. | "Life of Crime" (The Weirdos) | 2:19 |
8. | "Es Toy" (Mexican Institute of Sound) | 3:15 |
9. | "Gabriel (Soulwax Mix)" (Joe Goddard featuring Valentina) | 4:28 |
10. | "I'd Rather Be With You" (Bootsy Collins) | 4:57 |
11. | "Hollywood Nights" (Bob Seger) | 5:00 |
12. | "From Nowhere (Baardsen Remix)" (Dan Croll) | 4:27 |
13. | "Say That Then" (Problem featuring Glasses Malone) | 2:52 |
14. | "I Ain't Living Long Like This" (Waylon Jennings) | 4:45 |
15. | "Nobody Move, Nobody Gets Hurt" (Yellowman) | 3:43 |
16. | "All the Things She Said" (Simple Minds) | 4:16 |
17. | "Harm in Change" (Toro y Moi) | 3:59 |
18. | "This Mystic Decade" (Hot Snakes) | 3:03 |
19. | "Mirror Maru" (Cashmere Cat) | 4:02 |
ความยาวทั้งหมด: | 74:16 |
† ทั้งหมดเป็นเพลงที่เขียนขึ้นและบรรเลงทำนองโดย Tangerine Dream, Woody Jackson, The Alchemist และ Oh No มิกซ์และเรียบเรียงโดย DJ Shadow จากเพลงในเกมแบบอินเทอร์แอคทีฟ
The Cinematographic Score — GTA 5
[แก้]The Cinematographic Score — GTA 5 | ||||
---|---|---|---|---|
สตูดิโออัลบั้มโดย | ||||
วางตลาด | 24 มีนาคม 2014 | |||
บันทึกเสียง | 2012–2013 | |||
สตูดิโอ | อีสท์เกทสตูดิโอที่ เวียนนา และ เบอร์ลิน | |||
แนวเพลง | เพลงอิเล็กทรอนิกส์ | |||
ความยาว | 63:50 | |||
ค่ายเพลง | อีสท์เกท | |||
โปรดิวเซอร์ | Edgar Froese | |||
ลำดับอัลบั้มของTangerine Dream | ||||
|
The Cinematographic Score — GTA 5 วางจำหน่ายแบบเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2014 แบบจำกัดที่ 2000 ชุด อัลบั้มนี้แต่งและผู้ก่อตั้ง Tangerine Dream อย่าง Edgar Froese ในขณะที่ภรรยาของเขาคือ Bianca Froese-Acquaye ทำการออกแบบหน้าปกและเป็นผู้อำนวยการผลิต[12] Froese ตกลงที่จะทำงานในเกมแม้จะมีความไม่พอใจต่อความเป็นกลางกับปรัชญาของ Grand Theft Auto V ในเรื่องการทำงานต่อต้านการเมืองกระแสหลัก" และอธิบายว่ามันเป็น "เกมโซเชียล"[13]
ลำดับ | ชื่อเพลง | ยาว |
---|---|---|
1. | "Place of Conclusions" | 5:15 |
2. | "Streets of Fortune" | 4:54 |
3. | "Mission Possible" | 4:15 |
4. | "Downtown Los Santos" | 5:06 |
5. | "Blaine County Sunrise" | 5:26 |
6. | "Burning the Bad Seal" | 5:18 |
7. | "Beyond the Weakest Point" | 6:10 |
8. | "Sadness, Grief and Hope" | 4:38 |
9. | "Diary of a Robbery" | 5:36 |
10. | "Draw the Last Line Somewhere" | 6:13 |
11. | "The Dangerous Mile" | 5:42 |
12. | "Living on a Razor Edge" | 5:17 |
ความยาวทั้งหมด: | 63:50 |
Welcome to Los Santos
[แก้]Welcome to Los Santos | ||||
---|---|---|---|---|
สตูดิโออัลบั้มโดย The Alchemist และ Oh No | ||||
วางตลาด | 14 เมษายน 2015 (Grand Theft Auto V) 21 เมษายน 2015 (วางจำหน่ายในร้านค้า) | |||
แนวเพลง | ||||
ความยาว | 54:51 | |||
ค่ายเพลง | ||||
โปรดิวเซอร์ |
| |||
ลำดับผลงานของThe Alchemist | ||||
| ||||
ลำดับผลงานของOh No | ||||
| ||||
Welcome to Los Santos (หรือรู้จักในชื่อ The Alchemist and Oh No เสนอ Welcome to Los Santos) ได้ถูกนำรวมไปในเกมแกรนด์เธฟต์ออโต V เวอร์ชันที่ลงให้กับ Microsoft Windows ซึ่งวางจำหน่ายเมื่อ 14 เมษายน 2015 โดยอัลบั้มนี้ถูกนำไปเปิดในสถานีวิทยุภายในเกมที่ชื่อว่า "The Lab" เพื่อให้สอดคล้องกับส่วนที่เหลือของดนตรีประกอบในเกม ในเวอร์ชันวางจำหน่ายบนร้านค้าปลีกของอัลบั้มนี้วางจำหน่ายเมื่อ 21 เมษายนผ่าน Mass Appeal Records.[14] David Jeffries จาก AllMusic แสดงความรู้สึกของอัลบั้มนี้ว่า "จับความตื่นเต้นในการหมุนปุ่มหมุนวิทยุในเกม"[15] Clayton Purdom จาก Pitchfork Media ชื่อชมอัลบั้มนี้ว่ามีความหลากหลายในแนวเพลงและศิลปิน โดยเรียกมันว่า "เป็นเพลงที่ทะลักออกจากสโมสรที่คุณควรจะเข้าไปข้างใน".[16] Andrew Matson จากNPR วิจารณ์ในแง่บวกสำหรับเพลงส่วนใหญ่ในอัลบั้ม แต่กล่าวว่ามีบางเพลงที่ไม่สมควรได้รับการนึกถึงและไม่ได้เกิดผลอะไร".[17] โดยอัลบั้มนี้ขึ้นไปอันดับสูงสุดในชาร์ทที่อันดับ 18 และ 41 ในบิลบอร์ดชาร์ทของแนวดนตรีประกอบภาพยนตร์และอัลบั้ม R&B ในช่วงสุดสัปดาห์ของวันที่ 9 พฤษภาคม 2015.[18][19]
ลำดับ | ชื่อเพลง | Producer(s) | ยาว |
---|---|---|---|
1. | "Play It Cool" (Gangrene featuring Samuel T Herring and Earl Sweatshirt) | The Alchemist | 3:53 |
2. | "Trouble" (Ab-Soul featuring Aloe Blacc) | Oh No | 3:45 |
3. | "Speedline Miracle Masterpiece" (Tunde Adebimpe featuring Sal P and Sinkane) | The Alchemist, Josh Werner, Sinkane | 4:10 |
4. | "Welcome to Los Santos" (MC Eiht and Freddie Gibbs featuring Kokane) | Oh No | 3:51 |
5. | "K.Y.S.A." (Phantogram) | The Alchemist, Josh Carter, Bass Drum of Death (add.), Jake Portrait (add.) | 4:20 |
6. | "Fast Life" (Vybz Kartel) | Oh No, Josh Werner | 3:30 |
7. | "20's 50's 100's" (King Avriel featuring A$AP Ferg) | Oh No, Evian Christ (add.) | 4:23 |
8. | "Lock & Load" (MNDR featuring Killer Mike) | The Alchemist | 4:20 |
9. | "Born Bad" (Popcaan featuring Freddie Gibbs) | Oh No, Josh Werner | 3:28 |
10. | "California" (E-40 featuring Dâm-Funk and Ariel Pink) | Oh No | 3:55 |
11. | "Leave" (Wavves) | The Alchemist | 3:15 |
12. | "Fetti" (Curren$y and Freddie Gibbs) | The Alchemist | 4:39 |
13. | "Wanderer" (Little Dragon) | Little Dragon | 4:36 |
14. | "Bad News" (Action Bronson and Danny Brown) | The Alchemist | 2:46 |
ความยาวทั้งหมด: | 54:51 |
References
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 The Music of Grand Theft Auto V (album liner notes). Various Artists. Mass Appeal Records; ร็อกสตาร์ เกม. 2014.
{{cite AV media notes}}
: CS1 maint: others (ลิงก์) - ↑ R* Q (3 November 2014). "The Music of Grand Theft Auto V: Limited Edition Soundtrack CD and Vinyl Box Sets Coming this December". Rockstar Newswire. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 4 November 2014.
- ↑ Sterling, Jim (16 September 2013). "Review: Grand Theft Auto V". Destructoid. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 16 September 2013.
- ↑ Edge Staff (November 2013). "Play: Post Script". Edge. Future plc (259): 89.
- ↑ "The Ten Best Games Of The Generation". Edge. Future plc (272): 74–81. November 2014.
- ↑ Petit, Carolyn (16 September 2013). "Grand Theft Auto V Review: City of Angels and Demons". GameSpot. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 16 September 2013.
- ↑ Gertsmann, Jeff (16 September 2013). "Grand Theft Auto V Review". Giant Bomb. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 4 October 2013.
- ↑ MacDonald, Keza (16 September 2013). "Grand Theft Auto V Review". IGN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 16 September 2013.
- ↑ Mokoena, Tshepo (12 December 2014). "The Music of Grand Theft Auto V box set review – driving music revved up to its limits". The Guardian. Guardian Media Group. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 15 March 2015.
- ↑ "Movie Soundtracks: Top Soundtrack Album Charts". Billboard. Eldridge Industries. October 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 12 October 2017.
- ↑ 11.0 11.1 11.2 Sources that refer to the contents and general information of The Music of Grand Theft Auto V include:
- Stark, Chelsea (24 September 2013). "'Grand Theft Auto V' Soundtrack Blasts Onto iTunes". Mashable. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 25 September 2013.
- Makuch, Eddie (24 September 2013). "Grand Theft Auto V music now on iTunes". GameSpot. CBS Interactive. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 25 September 2013.
- Firecloud, Johnny (24 September 2013). "GTA V Sounds: Music of Grand Theft Auto 5 Now Available in iTunes". CraveOnline. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 25 September 2013.
- R* Q (24 September 2013). "The Music of Grand Theft Auto V: Three Volume Digital Album Now Available on iTunes". Rockstar Games. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 25 September 2013.
- ↑ 12.0 12.1 "Tangerine Dream - The Cinematographic Score GTA 5 (CD, Album)". Discogs. Zink Media. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-28. สืบค้นเมื่อ 28 June 2016.
- ↑ Pertou, Jacob (7 April 2014). "Jacobs TD Blog Presents An Exclusive Interview with Edgar Froese!". Jacob Pertou. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-28. สืบค้นเมื่อ 28 June 2016.
- ↑ "New Music Coming to GTAV: The Alchemist and Oh No Present Welcome to Los Santos". Rockstar Games. 6 March 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 9 July 2015.
- ↑ 15.0 15.1 Jeffries, David. "Welcome to Los Santos - The Alchemist, Oh No". AllMusic. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 9 July 2015.
- ↑ Purdom, Clayton (17 April 2015). "Various Artists: The Alchemist and Oh No Present: Welcome to Los Santos". Pitchfork Media. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 9 July 2015.
- ↑ Matson, Andrew (12 April 2015). "Review: The Alchemist & Oh No, 'Welcome To Los Santos'". NPR. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 10 October 2017.
- ↑ "Movie Soundtracks: Top Soundtrack Album Charts". Billboard. Eldridge Industries. May 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 12 October 2017.
- ↑ "R&B/Hip-Hop Albums". Billboard. Eldridge Industries. May 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-11. สืบค้นเมื่อ 12 October 2017.
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref>
ชื่อ "GTA V Inside Story" ซึ่งนิยามใน <references>
ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
<ref>
ชื่อ "COS Review" ซึ่งนิยามใน <references>
ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า