ข้ามไปเนื้อหา

ออกซิเจน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Oxygen)
ออกซิเจน, 00O
ออกซิเจน
อัญรูปO2, O3 (ozone) and more (see Allotropes of oxygen)
รูปลักษณ์เป็นแก๊สไม่มีสี เมื่ออยู่ในสถานะของเหลวจะมีสีฟ้า
Standard atomic weight Ar°(O)
  • [15.9990315.99977]
  • 15.999±0.001 (abridged)[1]
ออกซิเจนในตารางธาตุ
Hydrogen Helium
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon
Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
Caesium Barium Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury (element) Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon
Francium Radium Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson
-

O

S
ไนโตรเจนออกซิเจนฟลูออรีน
หมู่group 16 (chalcogens)
คาบคาบที่ 2
บล็อก  บล็อก-p
การจัดเรียงอิเล็กตรอน[He] 2s2 2p4
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น2, 6
สมบัติทางกายภาพ
วัฏภาค ณ STPแก๊ส
จุดหลอมเหลว54.36 K ​(-218.79 °C, ​-361.82 °F)
จุดเดือด90.188 K ​(-182.962 °C, ​-297.332 °F)
ความหนาแน่น (ณ STP)1.429 g/L
เมื่อเป็นของเหลว (ณ b.p.)1.141 g/cm3
Triple point54.361 K, ​0.1463 kPa
Critical point154.581 K, 5.043 MPa
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว(O2) 0.444 kJ/mol
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ(O2) 6.82 kJ/mol
ความจุความร้อนโมลาร์(O2)
29.378 J/(mol·K)
ความดันไอ
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
at T (K)       61 73 90
สมบัติเชิงอะตอม
เลขออกซิเดชัน−2, −1, 0, +1, +2
อิเล็กโตรเนกาทิวิตีPauling scale: 3.44
รัศมีอะตอมcalculated: 48 pm
รัศมีโคเวเลนต์66±2 pm
รัศมีวานเดอร์วาลส์152 pm
Color lines in a spectral range
Color lines in a spectral range
เส้นสเปกตรัมของออกซิเจน
สมบัติอื่น
โครงสร้างผลึก ​รูปลูกบาศก์
การนำความร้อน26.58x10-3  W/(m⋅K)
ความเป็นแม่เหล็กพาราแมกเนติก
ความเร็วของเสียง(แก๊ส, 27 °C) 330 m/s
เลขทะเบียน CAS7782-44-7
ประวัติศาสตร์
การค้นพบคาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ (1771)
Named byอ็องตวน ลาวัวซีเย (1777)
ไอโซโทปของออกซิเจน
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของออกซิเจน
หมวดหมู่ หมวดหมู่: ออกซิเจน
| แหล่งอ้างอิง

ออกซิเจน (อังกฤษ: Oxygen) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ O และเลขอะตอม 8 ธาตุนี้พบมาก ทั้งบนโลกและทั่วทั้งจักรวาล โมเลกุลออกซิเจน (O2 หรือที่มักเรียกว่า free oxygen) บนโลกมีความไม่เสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์จึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับธาตุอื่น ๆ ได้ง่าย ออกซิเจนเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียและพืช

ประวัติ

[แก้]

การทดลองในยุคแรก

[แก้]

ในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 โรเบิร์ต บอยล์ ได้พิสูจน์ว่าออกซิเจนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาไหม้ โดยนักเคมีชาวอังกฤษ จอห์น มาร์โยว์ (1541–1679) ได้ปรับปรุงการทดลองนี้โดยผลการทดลองพบว่า ไฟต้องการอากาศเพียงบางส่วนเท่านั้น ซึ่งเรียกว่า ไนโตรออเรียส (อังกฤษ: nitroaereus)[2]ซึ่งในการทดลองหนึ่ง เขาพบว่าออกซิเจนแทรกเข้าไปในภาชนะปิดบนน้ำ ที่มีหนูและเทียนไขอยู่ในภาชนะดังกล่าว ทำให้ระดับน้ำสูงขึ้น และแทนที่ 1 ใน 4 ของปริมาตรอากาศก่อนดับเทียน[3] ซึ่งจากการทดลองดังกล่าว สันนิษฐานได้ว่า ไนโตรออเรียสถูกใช้ในกระบวนการหายใจ และการเผาไหม้

มาร์โยว์พบว่า น้ำหนักของพลวงจะเพิ่มขึ้นเมื่อให้ความร้อน และอนุมานได้ว่า ไนโตรออเรียสต้องการรวมตัวกับสารดังกล่าว[2]ซึ่งเขาคิดว่า ปอดสามารถแยกไนโตรออเรียสจากอากาศ และเข้าสู่เลือด อีกทั้งมีผลต่อความอบอุ่นของสัตว์และการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ โดยเป็นผลจากปฏิกิริยาของไนโตรออเรียสกับสารบางชนิดในร่างกาย[2] ซึ่งรายงานการทดลองเหล่านี้ และแนวคิดดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1668 เรื่อง "แทรคทาทุส ดูโอ" (อังกฤษ: Tractatus duo) ในหนังสือ "ดี เรสไพราติโอน" (อังกฤษ: De respiratione)[3]

แหล่งกำเนิด

[แก้]

ออกซิเจน เป็นส่วนประกอบที่สำคัญและมีปริมาณเป็นอันดับ 2 ในส่วนประกอบของบรรยากาศโลกคือมีประมาณ 20.947% โดยปริมาตร

สารประกอบออกซิเจน

[แก้]

เนื่องด้วยค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี ของออกซิเจน จะเกิดพันธะเคมี กับธาตุอื่น ๆ ได้เกือบหมด (และนี่คือจุดเริ่มต้นของคำจำกัดความว่า ออกซิเดชัน) มีเพียงแก๊สมีสกุลเท่านั้นที่หนีรอดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันไปได้ และออกไซด์ที่มีชื่อเสียงที่สุดก็คือ ไดไฮโดรเจนโมโนออกไซด์ หรือ น้ำ (H2O)

สารประกอบออกซิเจนกับธาตุต่างๆ

การใช้

[แก้]

ทางการแพทย์

[แก้]

ใช้ทางการแพทย์เมื่อผู้ป่วยมีออกซิเจนไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตทำให้ต้องหยิบเครื่องช่วยหายใจมาช่วยผู้ป่วย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Standard Atomic Weights: Oxygen". CIAAW. 2009.
  2. 2.0 2.1 2.2 Britannica contributors (1911). "John Mayow". Encyclopaedia Britannica (11th ed.). สืบค้นเมื่อ December 16, 2007. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  3. 3.0 3.1 World of Chemistry contributors (2005). "John Mayow". World of Chemistry. Thomson Gale. ISBN 0-669-32727-1. สืบค้นเมื่อ December 16, 2007. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]