ข้ามไปเนื้อหา

เนื้องอกของสมอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Brain tumor)
เนื้องอกของสมอง
(Brain tumor)
ชื่ออื่นIntracranial neoplasm, brain tumour
ภาพเอ็มอาร์ไอแสดงให้เห็นมะเร็งในสมองซีกขวา ในรายนี้เป็นมะเร็งที่แพร่กระจายมาจากมะเร็งปอด
สาขาวิชาประสาทศัลยศาสตร์, วิทยามะเร็ง
อาการเกิดอาการได้หลากหลายขึ้นอยู่กับขนาดของเนื้องอกและตำแหน่งของสมองที่ได้รับผลกระทบ, ปวดศีรษะ, ชัก, มองเห็นผิดปกติ, อาเจียน, ระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง[1][2]
ประเภทเนื้องอกร้าย และเนื้องอกไม่ร้าย[2]
สาเหตุส่วนใหญ่ไม่พบสาเหตุ[2]
ปัจจัยเสี่ยงNeurofibromatosis, exposure to vinyl chloride, Epstein–Barr virus, ionizing radiation[1][2][3]
วิธีวินิจฉัยComputed tomography, magnetic resonance imaging, tissue biopsy[1][2]
การรักษาSurgery, radiation therapy, chemotherapy[1]
ยาAnticonvulsants, dexamethasone, furosemide[1]
พยากรณ์โรคAverage five-year survival rate 33% (US)[4]
ความชุก1.2 million nervous system cancers (2015)[5]
การเสียชีวิต229,000 (2015)[6]

เนื้องอกของสมองคือกลุ่มเซลล์ผิดปกติที่เจริญอยู่ในสมอง[2] แบ่งออกเป็นสองชนิดหลักๆ คือเนื้องอกร้าย (มะเร็ง) และเนื้องอกไม่ร้าย[2] อาจแบ่งได้อีกเป็นเนื้องอกปฐมภูมิ คือเกิดขึ้นจากเซลล์ในสมอง และเนื้องอกทุติยภูมิ คือเกิดขึ้นที่อื่นแล้วจึงแพร่กระจายมายังสมอง เรียกว่า มะเร็งสมองแบบแพร่กระจายมาจากที่อื่น[1] เนื้องอกสมองไม่ว่าจะเป็นประเภทใดอาจทำให้เกิดอาการได้หลากหลายขึ้นอยู่กับขนาดของเนื้องอกและตำแหน่งของสมองที่ได้รับผลกระทบไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม[2] อาการที่อาจพบได้ เช่น ปวดศีรษะ อาการชัก มองเห็นผิดปกติ อาเจียน และระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไปได้[1][2][7] อาการอื่นๆ เช่น เดินลำบาก พูดลำบาก การรับสัมผัสผิดปกติ และอาจหมดสติได้[1][3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 "Adult Brain Tumors Treatment". NCI. 28 February 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2014. สืบค้นเมื่อ 8 June 2014.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 "General Information About Adult Brain Tumors". NCI. 14 April 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2014. สืบค้นเมื่อ 8 June 2014.
  3. 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ WCR2014CNS
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ SEER2019
  5. Vos, Theo; Allen, Christine; Arora, Megha; Barber, Ryan M.; Bhutta, Zulfiqar A.; Brown, Alexandria; Carter, Austin; Casey, Daniel C.; Charlson, Fiona J.; Chen, Alan Z.; Coggeshall, Megan; Cornaby, Leslie; Dandona, Lalit; Dicker, Daniel J.; Dilegge, Tina; Erskine, Holly E.; Ferrari, Alize J.; Fitzmaurice, Christina; Fleming, Tom; Forouzanfar, Mohammad H.; Fullman, Nancy; Gething, Peter W.; Goldberg, Ellen M.; Graetz, Nicholas; Haagsma, Juanita A.; Hay, Simon I.; Johnson, Catherine O.; Kassebaum, Nicholas J.; Kawashima, Toana; และคณะ (October 2016). "Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990-2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1545–1602. doi:10.1016/S0140-6736(16)31678-6. PMC 5055577. PMID 27733282.
  6. Wang H, Naghavi M, Allen C, Barber RM, Bhutta ZA, Carter A, และคณะ (GBD 2015 Mortality and Causes of Death Collaborators) (October 2016). "Global, regional, and national life expectancy, all-cause mortality, and cause-specific mortality for 249 causes of death, 1980-2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1459–1544. doi:10.1016/S0140-6736(16)31012-1. PMC 5388903. PMID 27733281.
  7. Longo, Dan L (2012). "369 Seizures and Epilepsy". Harrison's principles of internal medicine (18th ed.). McGraw-Hill. p. 3258. ISBN 978-0-07-174887-2.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก