เนื้องอกของสมอง
หน้าตา
เนื้องอกของสมอง (Brain tumor) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Intracranial neoplasm, brain tumour |
ภาพเอ็มอาร์ไอแสดงให้เห็นมะเร็งในสมองซีกขวา ในรายนี้เป็นมะเร็งที่แพร่กระจายมาจากมะเร็งปอด | |
สาขาวิชา | ประสาทศัลยศาสตร์, วิทยามะเร็ง |
อาการ | เกิดอาการได้หลากหลายขึ้นอยู่กับขนาดของเนื้องอกและตำแหน่งของสมองที่ได้รับผลกระทบ, ปวดศีรษะ, ชัก, มองเห็นผิดปกติ, อาเจียน, ระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง[1][2] |
ประเภท | เนื้องอกร้าย และเนื้องอกไม่ร้าย[2] |
สาเหตุ | ส่วนใหญ่ไม่พบสาเหตุ[2] |
ปัจจัยเสี่ยง | Neurofibromatosis, exposure to vinyl chloride, Epstein–Barr virus, ionizing radiation[1][2][3] |
วิธีวินิจฉัย | Computed tomography, magnetic resonance imaging, tissue biopsy[1][2] |
การรักษา | Surgery, radiation therapy, chemotherapy[1] |
ยา | Anticonvulsants, dexamethasone, furosemide[1] |
พยากรณ์โรค | Average five-year survival rate 33% (US)[4] |
ความชุก | 1.2 million nervous system cancers (2015)[5] |
การเสียชีวิต | 229,000 (2015)[6] |
เนื้องอกของสมองคือกลุ่มเซลล์ผิดปกติที่เจริญอยู่ในสมอง[2] แบ่งออกเป็นสองชนิดหลักๆ คือเนื้องอกร้าย (มะเร็ง) และเนื้องอกไม่ร้าย[2] อาจแบ่งได้อีกเป็นเนื้องอกปฐมภูมิ คือเกิดขึ้นจากเซลล์ในสมอง และเนื้องอกทุติยภูมิ คือเกิดขึ้นที่อื่นแล้วจึงแพร่กระจายมายังสมอง เรียกว่า มะเร็งสมองแบบแพร่กระจายมาจากที่อื่น[1] เนื้องอกสมองไม่ว่าจะเป็นประเภทใดอาจทำให้เกิดอาการได้หลากหลายขึ้นอยู่กับขนาดของเนื้องอกและตำแหน่งของสมองที่ได้รับผลกระทบไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม[2] อาการที่อาจพบได้ เช่น ปวดศีรษะ อาการชัก มองเห็นผิดปกติ อาเจียน และระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไปได้[1][2][7] อาการอื่นๆ เช่น เดินลำบาก พูดลำบาก การรับสัมผัสผิดปกติ และอาจหมดสติได้[1][3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 "Adult Brain Tumors Treatment". NCI. 28 February 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2014. สืบค้นเมื่อ 8 June 2014.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 "General Information About Adult Brain Tumors". NCI. 14 April 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2014. สืบค้นเมื่อ 8 June 2014.
- ↑ 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อWCR2014CNS
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSEER2019
- ↑ Vos, Theo; Allen, Christine; Arora, Megha; Barber, Ryan M.; Bhutta, Zulfiqar A.; Brown, Alexandria; Carter, Austin; Casey, Daniel C.; Charlson, Fiona J.; Chen, Alan Z.; Coggeshall, Megan; Cornaby, Leslie; Dandona, Lalit; Dicker, Daniel J.; Dilegge, Tina; Erskine, Holly E.; Ferrari, Alize J.; Fitzmaurice, Christina; Fleming, Tom; Forouzanfar, Mohammad H.; Fullman, Nancy; Gething, Peter W.; Goldberg, Ellen M.; Graetz, Nicholas; Haagsma, Juanita A.; Hay, Simon I.; Johnson, Catherine O.; Kassebaum, Nicholas J.; Kawashima, Toana; และคณะ (October 2016). "Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990-2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1545–1602. doi:10.1016/S0140-6736(16)31678-6. PMC 5055577. PMID 27733282.
- ↑ Wang H, Naghavi M, Allen C, Barber RM, Bhutta ZA, Carter A, และคณะ (GBD 2015 Mortality and Causes of Death Collaborators) (October 2016). "Global, regional, and national life expectancy, all-cause mortality, and cause-specific mortality for 249 causes of death, 1980-2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1459–1544. doi:10.1016/S0140-6736(16)31012-1. PMC 5388903. PMID 27733281.
- ↑ Longo, Dan L (2012). "369 Seizures and Epilepsy". Harrison's principles of internal medicine (18th ed.). McGraw-Hill. p. 3258. ISBN 978-0-07-174887-2.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ Brain tumors
- Brain and CNS cancers ที่เว็บไซต์ Curlie
- Brain tumour information from Cancer Research UK
- Neuro-Oncology: Cancer Management Guidelines
- MedPix Teaching File MR Scans of Primary Brain Lymphoma, etc.