คริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Armenian Apostolic Church)
คริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย | |
---|---|
อาร์มีเนีย: Հայ Առաքելական Եկեղեցի | |
อาสนวิหารเอจมียัตซิน โบสถ์หลักของศาสนจักร | |
กลุ่ม | ศาสนาคริสต์ตะวันออก |
ความโน้มเอียง | ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ |
คัมภีร์ | เซปตัวจินต์, พันธสัญญาใหม่, ไบเบิลฉบับภาษาอาร์มีเนีย |
เทววิทยา | ไมอาไฟซิทิสม์ |
แผนการปกครอง | อิปิสโคปัล |
การปกครอง | Mother See of Holy Etchmiadzin |
หัวหน้า | คาทอลิกอสแห่งชาวอาร์มีเนียทั้งปวง กาเรกินที่สอง |
สมาคม | สภาคริสตจักรโลก[1] |
ภูมิภาค | ประเทศอาร์มีเนีย, ชาวอาร์มีเนียพลัดถิ่น |
ภาษา | อาร์มีเนียคลาสสิก |
พิธีกรรม | จารีตอาร์มีเนีย |
ศูนย์กลาง | อาสนวิหารเอตมียัตซิน, พระอาณาจักรพระมารดาแอจมียัตซินศักดิ์สิทธิ์, วาการ์ชาปัต, ประเทศอาร์มีเนีย |
ผู้ก่อตั้ง | นักบุญเกรเกอรีผู้ให้ความกระจ่าง อัครทูต บารโธโลมิว และ ทัดเดอุสแห่งเอเดสซา |
ต้นกำเนิด | ป. ศตวรรษที่ 1 ราชอาณาจักรอาร์มีเนียโบราณ |
แยกตัวจาก | เขตอัครบิดรสากล ในสังคายนาดวินที่สอง (554)[2] |
สมาชิก | 9,000,000 (ระบุตน)[3] |
ชื่ออื่น | คริสตจักรอาร์มีเนีย คริสต์จักรอาร์มีเนียนออร์ทอดอกซ์ |
เว็บไซต์ทางการ | www |
คริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย (อาร์มีเนีย: Հայ Առաքելական Եկեղեցի, อักษรโรมัน: Hay Aṙak'elakan Yekeghetsi; อังกฤษ: Armenian Apostolic Church)[หมายเหตุ 1] เป็นคริสตจักรประจำชาติของชาวอาร์มีเนีย คริสตจักรอาร์มีเนียเป็นจารีตย่อยหนึ่งของออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ และเป็นหนึ่งในสถาบันทางศาสนาคริสต์ที่เก่าแก่ที่สุด[5] โดยมีราชอาณาจักรอาร์มีเนียโบราณเป็นรัฐแรกที่ถือศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประจำชาติภายใต้รัชสมัยของกษัตริย์ทิริดาเตสที่สาม แห่งราชวงศ์อาซาชิด ในต้นศตวรรษที่สี่[6][7]
ชื่ออื่น ๆ ของคริสตจักรได้แก่ คริสตจักรออาร์มีเนียนออร์ทอดอกซ์ (Armenian Orthodox Church) และ คริสตจักรเกรเกอรีอาร์มีเนีย (Armenian Gregorian Church) และในบางครั้งอาจปรากฏเรียกสั้น ๆ ว่า คริสตจักรอาร์มีเนีย (Armenian Church)
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ Officially อาร์มีเนีย: Հայաստանեայց Առաքելական Սուրբ Եկեղեցի, อักษรโรมัน: Hayastaniayts Aṙak̕elakan Surb Yekeghetsi[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Armenian Apostolic Church (Mother See of Holy Etchmiadzin) and Armenian Apostolic Church (Holy See of Cilicia) in the World Council of Churches
- ↑ Panossian, Razmik (2006). The Armenians: From Kings and Priests to Merchants and Commissars. New York: Columbia University Press. pp. 43–44. ISBN 9780231139267.
The Armenian Apostolic Church formally became autocephalous—i.e. independent of external authority—in 554 by severing its links with the patriarchate of Constantinople.
- ↑ "Catholicos of All Armenians". armenianchurch.org. Mother See of Holy Etchmiadzin. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-10. สืบค้นเมื่อ 2021-05-02.
- ↑ ""ՀԱՅԱՍՏԱՆՅԱՅՑ ԱՌԱՔԵԼԱԿԱՆ ՍՈՒՐԲ ԵԿԵՂԵՑԻ" ԿԿ - HAYASTANYAYC ARAQELAKAN SURB YEKEGHECI RO". e-register.am. Electronic Register. Government of the Republic of Armenia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-30. สืบค้นเมื่อ 2021-05-02.
- ↑ Augusti, Johann Christian Wilhelm; Rheinwald, Georg Friedrich Heinrich; Siegel, Carl Christian Friedrich. The Antiquities of the Christian Church. p. 466.
- ↑ Scott, Michael (2016-11-01). Ancient Worlds: A Global History of Antiquity. Basic Books. ISBN 978-0-465-09473-8.
- ↑ Grousset, René (1984) [1947]. Histoire de l'Arménie (ภาษาฝรั่งเศส). Payot. p. 122.. Estimated dates vary from 284 to 314. Garsoïan (op.cit. p. 82), following the research of Ananian, favours the latter.
บรรณานุกรม
[แก้]- Brock, Sebastian P. (2016). "Miaphysite, not Monophysite!". Cristianesimo Nella Storia. 37 (1): 45–52. ISBN 9788815261687.
- Dočkal, Kamilo (1940). "Povijest Armenske crkve" [History of the Armenian Church]. Bogoslovska Smotra (ภาษาโครเอเชีย). 28 (2): 113–123.
- Dočkal, Kamilo (1940). "Povijest Armenske crkve" [History of the Armenian Church]. Bogoslovska Smotra (ภาษาโครเอเชีย). 28 (3): 182–192.
- Fahlbusch, Erwin (1999). "Armenian Apostolic Church". ใน Fahlbusch, Erwin (บ.ก.). Encyclopedia of Christianity. Vol. 1. Grand Rapids: Wm. B. Eerdmans. pp. 127–128. ISBN 0802824137.
- Krikorian, Mesrob K. (2010). Christology of the Oriental Orthodox Churches: Christology in the Tradition of the Armenian Apostolic Church. Peter Lang. ISBN 9783631581216.
- Winkler, Dietmar W. (1997). "Miaphysitism: A New Term for Use in the History of Dogma and in Ecumenical Theology". The Harp. 10 (3): 33–40.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Vrej Nerses Nersessian (2007). "Armenian Christianity" (PDF). ใน Parry, Ken (บ.ก.). Blackwell Companion to Eastern Christianity. Malden, MA: Blackwell. pp. 23–46. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 13 August 2011.
- Meyendorff, John (1989). Imperial unity and Christian divisions: The Church 450-680 A.D. Crestwood, NY: St. Vladimir's Seminary Press. ISBN 9780881410563.
- Ostrogorsky, George (1956). History of the Byzantine State. Oxford: Basil Blackwell.
- Stopka, Krzysztof (2016). Armenia Christiana: Armenian Religious Identity and the Churches of Constantinople and Rome (4th-15th century). Kraków: Jagiellonian University Press. ISBN 9788323395553.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ คริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย