ไดซัลฟิแรม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไดซัลฟิแรม
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าAntabuse, Antabus, อื่น ๆ
ชื่ออื่นtetraethyldisulfanedicarbothioamide; 1-(Diethylthiocarbamoyldisulfanyl)-N,N-diethyl-methanethioamide
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682602
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
ช่องทางการรับยาทางปาก, ฝังใต้ผิวหนัง
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
/ S4
  • AU: S6 (สารพิษ) / S4
  • UK: POM (Prescription only)
  • US: ℞-only
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงยาตับ เป็นdiethylthiocarbamate
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ60–120 ชั่วโมง
ตัวบ่งชี้
  • 1,1′-disulfanediylbis(N,N-diethylmethanethioamide)
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
NIAID ChemDB
ECHA InfoCard100.002.371
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC10H20N2S4
มวลต่อโมล296.52 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • CCN(CC)C(=S)SSC(=S)N(CC)CC
  • InChI=1S/C10H20N2S4/c1-5-11(6-2)9(13)15-16-10(14)12(7-3)8-4/h5-8H2,1-4H3 checkY
  • Key:AUZONCFQVSMFAP-UHFFFAOYSA-N checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ไดซัลฟิแรม (อังกฤษ: Disulfiram) เป็นยาที่ใช้ร่วมในการแก้ไขโรคติดสุรา โดยมีกลไกก่อการแพ้เฉียบพลันต่อเอทานอลในสุรา ไดซัลฟิแรมทำงานโดยยับยั้งเอนไซม์ อะซิทัลดีไฮด์ดีไฮโดรจีเนส ทำให้เกิดอาการเช่นเดียวกับการเมาค้างขึ้นทันทีหากผู้ใช้ยาดื่มเหล้า เมื่อทานไดซัลฟิแรมพร้อมเหล้าแม้ในปริมาณเล็กน้อย จะก่อให้เกิดอาการหน้าแดง หวัและคอปวดตุ้บ หายใจลำบากคลื่นเหียนอาเจียน เหงื่อออกมาก กระหายน้ำ ปวดหน้าอก หัวใจเต้นแรง หายใจลำบาก หายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็ว ความดันต่ำ หมดสติ ไม่มีเรี่ยวแรง บ้านหมุน การมองเห็นมีปัญหา และสับสนหากเกิดปฏิกิริยารุนแรงอาจก่อให้เกิดการกดการหายใจ ระบบหลอดเลือดหัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ หัวใจขาดเลือดเฉียยพลัน หัวใจล้มเหลว หมดสติ ชัก และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต[1]

เคยมีการศึกษาไดซัลฟิแรมในฐานะยาต้านมะเร็ง[2] ต้านการติดเชื้อพาราไซท์[3] และการติดเชื้อเอชไอวีซ่อน[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Antabuse – disulifram tablet". DailyMed. National Institutes of Health. May 23, 2016. สืบค้นเมื่อ 4 July 2016.
  2. Jiao Y, Hannafon BN, Ding WQ (2016). "Disulfiram's Anticancer Activity: Evidence and Mechanisms". Anti-Cancer Agents in Medicinal Chemistry. 16 (11): 1378–1384. doi:10.2174/1871520615666160504095040. PMID 27141876.
  3. Shirley, DA; Sharma, I; Warren, CA; Moonah, S (2021). "Drug Repurposing of the Alcohol Abuse Medication Disulfiram as an Anti-Parasitic Agent". Frontiers in Cellular and Infection Microbiology. 11: 633194. doi:10.3389/fcimb.2021.633194. PMC 7991622. PMID 33777846.
  4. Rasmussen TA, Lewin SR (July 2016). "Shocking HIV out of hiding: where are we with clinical trials of latency reversing agents?". Current Opinion in HIV and AIDS. 11 (4): 394–401. doi:10.1097/COH.0000000000000279. PMID 26974532. S2CID 25995091.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]