โคแวกซ์
โคแวกซ์ (อังกฤษ: COVAX, เป็นตัวย่อของ COVID-19 Vaccines Global Access, ท. การเข้าถึงทั่วโลกซึ่งวัคซีนโควิด-19) เป็นการริเริ่มระดับโลกซึ่งมุ่งให้ทั่วโลกสามารถเข้าถึงวัคซีนโควิด-19 ได้อย่างเสมอภาค นำโดย องค์กรพันธมิตรทั่วโลกด้านวัคซีนและการสร้างภูมิคุ้มกันโรค (GAVI), องค์การอนามัยโลก และ กลุ่มพันธมิตรความร่วมมือด้านนวัตกรรมเพื่อรับมือโรคระบาด (Coalition for Epidemic Preparedness Innovations, CEPI) เป็นต้น ถือเป็นหนึ่งในสามเสาหลักของเครื่องมือเร่งการเข้าถึงเครื่องมือโควิด-19 (Access to COVID-19 Tools Accelerator) ซึ่งเป็นการริเริ่มตั้งแต่เดือนเมษายน 2563 โดยองค์การอนามัยโลก คณะกรรมาธิการยุโรป กับรัฐบาลฝรั่งเศส โคแวกซ์มุ่งประสานงานทรัพยากรระหว่างประเทศเพื่อให้เข้าถึงการวินิจฉัย การรักษาและวัคซีนโควิด-19 ได้อย่างเท่าเทียม[1]
ผู้มีสิทธิ์ได้รับวัคซีน[แก้]
ประเทศผู้มีสิทธิ์ได้รับประโยชน์จากโคแวกซ์ส่วนใหญ่มี "สมรรถนะวางระเบียบจำกัด" และขึ้นอยู่กับการอนุญาตของ WHO ในต้นปี 2564 WHO กำลังทบทวนวัคซีน 11 ชนิดเพื่ออนุญาตให้ขึ้นบัญชีใช้ฉุกเฉิน[2] ซึ่งวัคซีนตัวแรกที่อนุมัติคือ วัคซีนโควิด-19 ไฟเซอร์-ไบโอเอ็นเทค (ชื่อการค้า โคมีร์นาตี)[3][4] ในเดือนธันวาคม 2563 โคแวกซ์สรุปการเจรจากับผู้ผลิตวัคซีนเพื่อให้โครงการเข้าถึงวัคซีน 2 พันล้านโดส[5]
ในเดือนกรกฎาคม 2563 มี 165 ประเทศ (คิดเป็นร้อยละ 60 ของประชากรโลก) เข้าร่วมโคแวกซ์[6]
ผู้บริจาคและผู้ได้รับบริจาค[แก้]
|
ประเทศ | SFP/AMC | AstraZeneca SII |
AstraZeneca SK Bioscience |
Pfizer/BioNTech | Total |
---|---|---|---|---|---|
![]() |
AMC | 97,164,000 | - | - | 97,164,000 |
![]() |
AMC | 17,160,000 | - | - | 17,160,000 |
![]() |
AMC | 16,008,000 | - | - | 16,008,000 |
![]() |
AMC | - | 13,708,800 | - | 13,708,800 |
![]() |
AMC | 12,792,000 | - | - | 12,792,000 |
![]() |
SFP | - | 10,672,800 | - | 10,672,800 |
![]() |
AMC | 8,928,000 | - | - | 8,928,000 |
![]() |
AMC | 6,948,000 | - | - | 6,948,000 |
![]() |
SFP | - | 6,472,800 | - | 6,472,800 |
![]() |
AMC | - | 5,500,800 | 117,000 | 5,617,800 |
ชื่อ | ยอดบริจาค |
---|---|
![]() |
706 |
![]() |
246 |
Bill & Melinda Gates Foundation | 156 |
![]() |
153 |
![]() |
134 |
![]() |
130 |
![]() |
117 |
![]() |
117 |
![]() |
117 |
![]() |
103 |
Other Donors | 94 |
![]() |
59 |
![]() |
58 |
Reed Hastings and Patty Quillin | 30 |
![]() |
22 |
Anonymous Foundation | 22 |
![]() |
11 |
![]() |
11 |
![]() |
10 |
![]() |
10 |
![]() |
10 |
TikTok | 10 |
![]() |
8 |
Transferwise | 7 |
![]() |
6 |
![]() |
5 |
Soccer Aid | 4 |
![]() |
2 |
![]() |
2 |
![]() |
1 |
Mastercard | 1 |
![]() |
0.1 |
![]() |
0.1 |
![]() |
0.01 |
Total | 2,361 |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "COVAX explained". gavi.org. GAVI. สืบค้นเมื่อ 15 November 2020.
- ↑ Widianto, Stanley (January 29, 2021). "COVAX to ship enough shots for 3% of poor countries' populations in H1 - WHO". Reuters. Jakarta. สืบค้นเมื่อ February 3, 2021.
- ↑ "Comirnaty EPAR". European Medicines Agency (EMA). สืบค้นเมื่อ 23 December 2020.
- ↑ "WHO issues its first emergency use validation for a COVID-19 vaccine and emphasizes need for equitable global access". World Health Organization (WHO) (Press release). 31 December 2020. สืบค้นเมื่อ 6 January 2021.
- ↑ World Health Organization (18 December 2020). "COVAX Announces additional deals to access promising COVID-19 vaccine candidates; plans global rollout starting Q1 2021" (Press release). สืบค้นเมื่อ 4 February 2021.
- ↑ World Health Organization (15 July 2020). "More than 150 countries engaged in COVID-19 vaccine global access facility". สืบค้นเมื่อ 3 February 2021.
- ↑ "The Covax Facility: Interim Distribution Forecast – latest as of 3 February 2021" (PDF). COVAX. 3 February 2021.
- ↑ "Key Outcomes: COVAX AMC" (PDF). Gavi.