แกรนด์ดัชชีฟินแลนด์
หน้าตา
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ราชรัฐฟินแลนด์ | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 1809–ค.ศ. 1917 | |||||||||||
แกรนด์ดัชชีฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1914 | |||||||||||
สถานะ | ราชรัฐของจักรวรรดิรัสเซีย | ||||||||||
เมืองหลวง | ตุรกุ (ค.ศ. 1809–1812) เฮลซิงกิ (ค.ศ. 1812–1917) | ||||||||||
ภาษาทั่วไป | ฟินแลนด์, สวีเดน, รัสเซีย, ซามี, คาเรเลีย | ||||||||||
ศาสนา | ศาสนาประจำรัฐ: ลูเทอแรน (จนถึง ค.ศ. 1867) ออร์ทอดอกซ์ฟินแลนด์ (จนถึง ค.ศ. 1917) | ||||||||||
การปกครอง | ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ | ||||||||||
แกรนด์ดยุก | |||||||||||
• ค.ศ. 1809–1825 | อเล็กซานเดอร์ที่ 1 | ||||||||||
• ค.ศ. 1825–1855 | นิโคลัสที่ 1 | ||||||||||
• ค.ศ. 1855–1881 | อะเลคซันดร์ที่ 2 | ||||||||||
• ค.ศ. 1881–1894 | อะเลคซันดร์ที่ 3 | ||||||||||
• ค.ศ. 1894–1917 | นิโคลัสที่ 2 | ||||||||||
ข้าหลวง | |||||||||||
• ค.ศ. 1809 (คนแรก) | เยออรี สแปรงต์ปอร์เทิน | ||||||||||
• ค.ศ. 1917 (คนสุดท้าย) | นีโคไล เนคราซอฟ | ||||||||||
Vice Chairman | |||||||||||
• ค.ศ. 1822–1826 (คนแรก) | คาร์ล เอริค มันเนอร์ไฮม์ | ||||||||||
• ค.ศ. 1917 (คนสุดท้าย) | อันแดรส์ วีแรนเนียส | ||||||||||
สภานิติบัญญัติ | สภานิติบัญญัติ (ค.ศ. 1809–1906) รัฐสภา (ค.ศ. 1906–1917) | ||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||
29 มีนาคม ค.ศ. 1809 | |||||||||||
17 กันยายน ค.ศ. 1809 | |||||||||||
6 ธันวาคม ค.ศ. 1917 | |||||||||||
สกุลเงิน | ริคส์ดาแลร์สวีเดน (ค.ศ. 1809–1840) รูเบิลรัสเซีย (ค.ศ. 1840–1860) มาร์กาฟินแลนด์ (ค.ศ. 1860–1917) | ||||||||||
| |||||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | ฟินแลนด์ รัสเซีย |
แกรนด์ดัชชีฟินแลนด์ (ฟินแลนด์: Suomen suuriruhtinaskunta; สวีเดน: Storfurstendömet Finland; รัสเซีย: Великое княжество Финляндское, Velikoye knyazhestvo Finlyandskoye; ซึ่งข้อความในภาษาทั้งสามแปลตรงตัวได้ว่า "ราชรัฐฟินแลนด์") เป็นรัฐก่อนหน้าฟินแลนด์ยุคใหม่ ดำรงอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1809 ถึง ค.ศ. 1917 โดยถือว่าเป็นเขตปกครองตนเองของจักรวรรดิรัสเซีย
ประชากรในแกรนด์ดัชชี
[แก้]- 1810: 863,000[1]
- 1830: 1,372,000
- 1850: 1,637,000
- 1870: 1,769,000
- 1890: 2,380,000
- 1910: 2,943,000
- 1920: 3,148,000 (ฟินแลนด์เป็นเอกราชตั้งแต่ ค.ศ. 1917)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ B. R. Mitchell, European Historical Statistics, 1750–1970 (Columbia U.P., 1978), p. 4
บรรณานุกรม
[แก้]- Hall, Wendy (1953), Green, Gold, and Granite, London: Max Parrish & Co..
- Jutikkala, Eino; Pirinen, Kauko (1962), A History of Finland (rev. ed.), New York, Washington: Praeger Publishers.
- Mäkinen, Ilkka. (Winter 2015), "From Literacy to Love of Reading: The Fennomanian Ideology of Reading in the 19th-Century Finland", Journal of Social History, 49 (2).
- Seton-Watson, Hugh (1967), The Russian Empire 1801–1917, London: Oxford.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Alenius, Kari. "Russification in Estonia and Finland Before 1917," Faravid, 2004, Vol. 28, pp. 181–94 Online
- Huxley, Steven. Constitutionalist insurgency in Finland: Finnish "passive resistance" against Russification as a case of nonmilitary struggle in the European resistance tradition (1990)
- Jussila, Osmo, et al. From Grand Duchy to a Modern State: A Political History of Finland Since 1809 (Hurst & Co. 1999).
- Kan, Aleksander. "Storfurstendömet Finland 1809–1917 – dess autonomi enligt den nutida finska historieskrivningen" (in Swedish) ["Autonomous Finland 1809–1917 in contemporary Finnish historiography"] Historisk Tidskrift, 2008, Issue 1, pp. 3–27
- Polvinen, Tuomo. Imperial Borderland: Bobrikov and the Attempted Russification of Finland, 1898–1904 (1995) Duke University Press. 342 pp.
- Thaden, Edward C. Russification in the Baltic Provinces and Finland (1981). JSTOR
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ แกรนด์ดัชชีฟินแลนด์