ข้ามไปเนื้อหา

เมแกน ราพิโน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เมแกน ราพิโน
ราพิโนในปี 2019
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อเต็ม เมแกน แอนนา ราพิโน
วันเกิด (1985-07-05) 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1985 (39 ปี)[1]
สถานที่เกิด เรดดิง รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ
ตำแหน่ง กองกลางและปีก
ข้อมูลสโมสร
สโมสรปัจจุบัน
เรน
หมายเลข 15
สโมสรเยาวชน
2002–2005 เอลก์โกรฟไพรด์
สโมสรวิทยาลัย
ปี ทีม ลงเล่น (ประตู)
2005–2008 มหาวิทยาลัยพอร์ตแลนด์
สโมสรอาชีพ*
ปี ทีม ลงเล่น (ประตู)
2009–2010 ชิคาโก เรดสตาส์ 38 (3)
2011 ฟิลาเดลเฟีย อินดิเพนเดนซ์ 4 (1)
2011 เมจิกแจ็ก 10 (3)
2011 ซิดนีย์ 2 (1)
2012 ซีแอตเทิล ซาวน์เดอส์ 2 (0)
2013–2014 ออแล็งปิกลียอแน 28 (8)
2013– เรน 75 (37)
ทีมชาติ
2003–2005 สหรัฐ ยู-20 21 (9)
2006– สหรัฐ 158 (50)
*นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้แก่สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น
ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ July 8, 2019
‡ ข้อมูลการลงเล่นและประตูให้แก่ทีมชาติล่าสุด
ณ วันที่ 17:42, July 7, 2019 (UTC)

เมแกน แอนนา ราพิโน (อังกฤษ: Megan Anna Rapinoe; /rəˈpn/ ( ฟังเสียง)) เป็นนักฟุตบอลหญิงชาวอเมริกัน ซึ่งปัจจุบันเป็นกัปตันของสโมสรเรนในเนชันแนลวีเมนส์ซอกเกอร์ลีกของสหรัฐ โดยราพิโนเล่นในตำแหน่งกองกลางและปีก เธอมีส่วนสำคัญให้ทีมชาติสหรัฐชนะเลิศในการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงในปี 2015 และ 2019 เหรียญทองในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2016ที่กรุงลอนดอน และรองชนะเลิศฟุตบอลโลกหญิง 2011 นับตั้งแต่ปี 2018 เธอดำรงตำแหน่งกัปตันทีมชาติสหรัฐร่วมกับคาร์ลี ลอยด์และอเล็กซ์ มอร์แกน[2]

ราพิโนเป็นที่รู้จักในวงการฟุตบอลสากลว่าเป็นผู้เล่นที่มีลูกเล่นเหนือชั้น[3][4][5] และการครอสบอลของเธอที่แม่นยำทำให้แอบบี วอมแบชทำประตูตีเสมอบราซิลได้ในนาทีที่ 122 ในรอบก่อนรองชนะเลิศก่อนที่จะชนะด้วยการดวลลูกโทษ นอกจากนี้เธอยังเป็นนักฟุตบอลคนแรก (จากทั้งสองเพศ) ที่ทำประตูได้จากการเตะมุมในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก[6]

นอกเหนือจากวงการฟุตบอลแล้ว ราพิโนยังสนับสนุนองค์กรที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศหลายองค์กรในสหรัฐ รวมทั้ง Gay, Lesbian & Straight Education Network (GLSEN) และ Athlete Ally ในปี 2019 เธอร่วมก่อตั้งแบรนด์ไลฟ์สไตล์ที่เป็นกลางทางเพศ re-inc กันนักกีฬาคนอื่นๆได้แก่ Christen Press, Tobin Heath, และ Meghan Klingenberg.[7]

ในปี 2020 ไทม์ให้ราพิโนเป็นหนึ่งใน 100 คนที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก[8]


อ้างอิง

[แก้]
  1. "Megan Rapinoe". United States Olympic & Paralympic Committee. สืบค้นเมื่อ July 3, 2018.
  2. Kassouf, Jeff (October 3, 2018). "USWNT notebook: Scheduling, captains and other updates from World Cup qualifying camp". The Equalizer. สืบค้นเมื่อ October 4, 2018.
  3. Kassouf, Jeff (June 28, 2013). "With Rapinoe, Solo, Seattle Reign FC finally putting the pieces together". NBC Sports. สืบค้นเมื่อ March 5, 2014.
  4. Saffer, Paul (August 16, 2013). "Hamm explains United States system". UEFA. สืบค้นเมื่อ March 5, 2014.
  5. Voisin, Ailene (July 9, 2012). "Redding native Megan Rapinoe's soccer fortunes keep rising; Olympics ahead". The Sacramento Bee. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 3, 2013. สืบค้นเมื่อ March 5, 2014.
  6. "The Olimpico Goal - Megan Rapinoe | 90 Seconds Of The Olympics" ที่ยูทูบ
  7. Schwab, Katharine (July 1, 2019). "Megan Rapinoe's new lifestyle brand is built on inclusive design". Fast Company. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 8, 2019. สืบค้นเมื่อ September 23, 2019.
  8. "Megan Rapinoe: The 100 Most Influential People of 2020". Time. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 31, 2021. สืบค้นเมื่อ September 23, 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]