เนบิวลาวงแหวน
หน้าตา
เนบิวลาวงแหวน | |
---|---|
ข้อมูลสังเกตการณ์ | |
ประเภท | เนบิวลาดาวเคราะห์ |
ไรต์แอสเซนชัน | 18h 53m 35.079s[1] |
เดคลิเนชัน | +33° 01′ 45.03″[1] |
ระยะห่าง | 2.3+1.5 −0.7 kly[2],[3] |
โชติมาตรปรากฏ (V) | 8.8 |
ขนาดปรากฏ (V) | 230′ × 230′[3] |
กลุ่มดาว | กลุ่มดาวพิณ |
ลักษณะทางกายภาพ | |
รัศมี | 1.3+0.8 −0.4 ly[a] |
โชติมาตรสัมบูรณ์ (V) | −0.2+0.7 −1.8[b] |
ชื่ออื่น | M 57[1],NGC 6720[1] |
ดูเพิ่ม: เนบิวลา, รายการเนบิวลา | |
เนบิวลาวงแหวน (อังกฤษ: Ring Nebula หรือรู้จักกันในชื่ออื่นคือ Messier 57 หรือ M57 หรือ NGC6720) เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ในกลุ่มดาวพิณ[4] เกิดจากแก๊สและฝุ่นที่ผิวดาวยักษ์แดงแผ่ออกไปสู่มวลสารระหว่างดาว ในขณะที่ดาาวฤกษ์ตรงกลางยุบตัวเป็นดาวแคระขาว
ค้นพบโดย ชาร์ล เมซีเย (อังกฤษ: Charles Messier) ในมกราคม ค.ศ. 1779 แล้วในปี ค.ศ. 1800 ฟรีดริช ฟอน ฮาห์น (อังกฤษ: Friedrich von Hahn) พูดว่าเขาค้นพบดาวฤกษ์กลางของ เอ็ม 57 ไม่กี่ปีที่แล้ว นักดาราศาสตร์ ยูจีน ฟอน ก็อทฮาร์ด (อังกฤษ: Eugene von Gothard) เป็นคนแรกที่ได้ถ่ายรูปของ เอ็ม 57 ในปี ค.ศ. 1886
เอ็ม 57 ตั้งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 2,300 ปีแสง[5] มันมีความสว่างขนาด 8.8
เชิงอรรถ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 http://simbad.u-strasbg.fr/simbad/sim-basic?Ident=M57&submit=SIMBAD+search สืบค้นเมื่อ2016-03-13
- ↑ Harris, Hugh C.; Dahn, Conard C.; Canzian, Blaise; Guetter, Harry H.; Leggett, S. K.; Levine, Stephen E.; et al. (2007). "Trigonometric Parallaxes of Central Stars of Planetary Nebulae". Astronomical Journal. 133 (2): 631–638. arXiv:astro-ph/0611543Freely accessible. http://adsabs.harvard.edu/abs/2007AJ....133..631H
- ↑ 3.0 3.1 O'Dell, C. R.; Balick, B.; Hajian, A. R.; Henney, W. J.; Burkert, A. (2002). "Knots in Nearby Planetary Nebulae". Astronomical Journal. 123 (6): 3329–3347. http://adsabs.harvard.edu/abs/2002AJ....123.3329O
- ↑ Coe, Steven R. (2007). Nebulae and how to observe them. Astronomers' observing guides. Springer. p. 111. ISBN 1-84628-482-1
{{cite book}}
: CS1 maint: postscript (ลิงก์) - ↑ "Messier 57 - The Ring Nebula". Universe Today (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2017-09-25.