เมซีเย 15
Messier 15 | |
---|---|
![]() นักดาราศาสตร์สมัครเล่นถ่ายรูปของ เมซีเย 15 ด้วยกล้องโทรทรรศน์ 150 มิลลิเมตร | |
ข้อมูลสังเกตการณ์ (ต้นยุคอ้างอิง J2000) | |
ระดับ | IV[1] |
กลุ่มดาว | กลุ่มดาวม้าบิน |
ไรต์แอสเซนชัน | 21h 29m 58.33s[2] |
เดคลิเนชัน | +12° 10′ 01.2″[2] |
ระยะห่าง | 35.69 ± 0.43 kly (10.944 ± 0.131 kpc)[3] () |
โชติมาตรปรากฏ (V) | 6.2[4] |
ขนาดปรากฏ (V) | 18′.0 |
คุณสมบัติทางกายภาพ | |
มวล | kg (5.6×105[5] M) |
รัศมี | ~88 ly[6] |
VHB | 15.83 |
อายุโดยประมาณ | 12.0 Gyr[7] |
ลักษณะเด่น | steep central cusp |
ชื่ออื่น | NGC 7078, GCl 120[8] |
ดูเพิ่ม: กระจุกดาวทรงกลม, รายชื่อกระจุกดาวทรงกลม | |

เมซีเย 15 (รู้จักในชื่อ เอ็ม 15 หรือ เอ็นจีซี 7078; อังกฤษ: Messier 15 หรือ M15 หรือ NGC 7078) เป็นกระจุกดาวทรงกลมที่ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวม้าบิน
การค้นพบและการสังเกต
[แก้]ถูกค้นพบโดย ฌ็อง-ดอมีนิก มาราลดี ใน ค.ศ. 1746 ต่อมาชาร์ล เมซีเย ได้จัดหมวดหมู่ใน ค.ศ. 1764[9] เอ็ม 15 มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าถ้ามีท้องฟ้าใส ดูเหมือนเนบิวลาหรือดาวไม่ชัดในกล้องสองตาหรือกล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็ก ต้องการกล้องโทรทรรศน์ขนาด 6 นิ้วขึ้นไปเพื่อมองเห็นดาวฤกษ์[10] ดาวสมาชิกสว่างที่สุดมีขนาดความส่องสว่างปรากฏ 12.6
ลักษณะ
[แก้]ตั้งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 35,700 ปีแสง และมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 175 ปีแสง มีขนาดความส่องสว่างปรากฏ 6.2[11] อายุประมาณ 12.5±1.3 พันล้านปี[12] เอ็ม 15 เป็นหนึ่งในกระจุกดาวที่อัดแน่นที่สุดในทางช้างเผือก เป็นไปได้ว่า เอ็ม 15 มีหลุมดำที่ศูนย์กลาง
เอ็ม 15 มีชื่อเสียงเพราะมีดาวแปรแสง 112 ดวงและพัลซาร์ 8 ดวง นอกจากนั้น เอ็ม 15 มี พีซ 1 (รู้จักในชื่อ K648) เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ในกระจุกดาวทรงกลมซึ่งถูกค้นพบเป็นแห่งแรกเมื่อ ค.ศ. 1928[13] ตั้งแต่นั้นนักดาราศาสตร์ค้นพบเนบิวลาดาวเคราะห์อยู่ภายในกระจุกดาวทรงกลมอีกเพียง 3 แห่ง
แหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์
[แก้]นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบแหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์สองแห่งที่ตั้งอยู่ที่ เอ็ม 15 ชื่อ เมซีเย 15 เอกซ์-1 และเมซีเย 15 เอกซ์-2[14][15]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อhcob849_11
- ↑ 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อaj140_6_1830
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBhardwaj
- ↑ "Messier 15". SEDS Messier Catalog. สืบค้นเมื่อ 21 July 2024.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อmnras406_3_2000
- ↑ distance × sin( diameter_angle / 2 ) = 88 ly radius
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อmnras385_4_1998
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อsimbad
- ↑ "Messier 15: Great Pegasus Cluster". Messier-Objects.com. 5 เมษายน 2015.
- ↑ Alan Strauss. "How to find and observe Messier 15, an incredibly old cluster". Love The Night Sky.
- ↑ "Messier 15". SEDS Messier Database. 19 กุมภาพันธ์ 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 กรกฎาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2022.
- ↑ Koleva M, Prugniel Ph, Ocvirk P, Le Borgne D, Soubiran C (เมษายน 2008). "Spectroscopic ages and metallicities of stellar populations: validation of full spectrum fitting". Monthly Notices of the Royal Astronomical Society. 385 (4): 1998–2010. doi:10.1111/j.1365-2966.2008.12908.x.
- ↑ Buell, J. F.; Henry, R. B. C.; Baron, E. & Kwitter, K. B. (กรกฎาคม 1997). "On the origin of planetary nebula k648 in globular cluster m15". The Astrophysical Journal. 483 (2): 837. doi:10.1086/304273.
- ↑ Forman W, Jones C, Cominsky L, Julien P, Murray S, Peters G, Tananbaum H, Giacconi R (ธันวาคม 1978). "The fourth Uhuru catalog of X-ray sources". The Astrophysical Journal. Supplement Series. 38: 357–412. Bibcode:1978ApJS...38..357F. doi:10.1086/190561.
- ↑ White, Nicholas E. & Angelini, Lorella (พฤศจิกายน 2001). "The discovery of a second luminous low-mass X-ray binary in the globular cluster M15". The Astrophysical Journal. 561 (1): L101. doi:10.1086/324561.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Messier 15, Galactic Globular Clusters Database page
- Globular Cluster Photometry With the Hubble Space Telescope. V. WFPC Study of M15's Central density Cusp เก็บถาวร 2015-11-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- SDSS image of M15, Wikisky.org
- Gretton, Roy & Meghan, Gray, "M15 – Globular Cluster", Deep Sky Videos, Brady Haran