สภาองคมนตรีอังกฤษ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประวัติศาสตร์อังกฤษ
Flag of England
บริเตนยุคก่อนประวัติศาสตร์(ก่อน ค.ศ. 43)
บริเตนสมัยโรมันVexilloid of the Roman Empire.svg (ค.ศ. 43–410)
อังกฤษสมัยแองโกล-แซกซันSutton.Hoo.Helmet.RobRoy.jpg (ค.ศ. 410–1066)
อังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มันRoyal Arms of England (1154-1189).svg (ค.ศ. 1066–1154)
ราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทRoyal Arms of England.svg (ค.ศ. 1154–1485)
ราชวงศ์แลงคัสเตอร์Red Rose Badge of Lancaster.svg (ค.ศ. 1399–1471)
ราชวงศ์ยอร์กYorkshire rose.svg (ค.ศ. 1461–1485)
ราชวงศ์ทิวดอร์Tudor Rose.svg (ค.ศ. 1485–1603)
ราชวงศ์สจวตRoyal Arms of England (1603-1707).svg (ค.ศ. 1603–1642)
รัฐผู้พิทักษ์ และ
เครือจักรภพแห่งอังกฤษ
Arms of the Protectorate (1653–1659).svg (ค.ศ. 1642–1660)
การฟื้นฟูราชวงศ์สจวต และ
การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์
Royal Arms of England (1603-1707).svg (ค.ศ. 1660–1707)
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่Royal Arms of Great Britain (1714-1801).svg (ค.ศ. 1707–1800)
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่
และไอร์แลนด์
Royal Arms of United Kingdom (1816-1837).svg (ค.ศ. 1801–1927)
สหราชอาณาจักรArms of the United Kingdom.svg (ค.ศ. 1927–ปัจจุบัน)
สภาองคมนตรีอังกฤษในการประชุมกับคณะทูตจากสเปนที่โซเมอเซทเฮาส์ เพื่อตกลงร่วมในสนธิสัญญาลอนดอน (1604)

สภาองคมนตรีอังกฤษ (อังกฤษ: Privy Council of England; His/her Majesty's Most Honourable Privy Council) คือสภาที่มีหน้าที่ให้คำปรึกษาต่อพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งมีที่มาจากการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ โดยสมาชิกส่วนใหญ่มักจะเป็นสมาชิกอาวุโสในสภาขุนนาง สภาสามัญชน ผู้พิพากษา นักการทูต ผู้นำเหล่าทัพ หรือสมาชิกอาวุโสแห่งคริสตจักรอังกฤษ สภาองคมนตรีอังกฤษนั้นถูกยุบแทนที่ด้วย "สภาองคมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร" ในปี ค.ศ. 1707

สภาองคมนตรีอังกฤษนั้นถือเป็นองค์กรที่มีอำนาจมาก รวมถึงอำนาจในการให้คำปรึกษาต่อพระมหากษัตริย์ในการใช้พระราชอำนาจต่าง ๆ ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมาย

บรรณานุกรม[แก้]

  • Alford, Stephen (2002). The Early Elizabethan Polity.
  • Blackstone, William (1838). Commentaries on the Laws of England. New York: W. E. Dean.
  • Cox, H (1854). The British Commonwealth, Or, A Commentary on the Institutions and Principles of British Government. London: Longman, Brown, Green, and Longmans.
  • D'Ewes, Simonds (1682). The Journals of all the Parliaments during the Reign of Queen Elizabeth, both of the House of Lords and House of Commons. London. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Dicey, A. (1887). The Privy Council : the Arnold prize essay, 1860. London.
  • Gay, O. (2005). "The Privy Council" (pdf). House of Commons Library Standard Note. SN/PC/2708. สืบค้นเมื่อ 13 May 2010. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Goodnow, F (1897). Comparative Administrative Law: an Analysis of the Administrative Systems, National and Local, of the United States, England, France and Germany. New York: G. P. Putnam's Sons. ISBN 978-1-58477-622-2.
  • Maitland, F. (1911). The constitutional history of England : a course of lectures. Cambridge.
  • Plant, David (2007). "The Council of State". British Civil Wars, Commonwealth and Protectorate, 1638–60. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-26. สืบค้นเมื่อ 30 December 2010.
  • Rayment, Leigh (30 May 2008). "Privy Counsellors – Ireland". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-26. สืบค้นเมื่อ 30 December 2010.
  • Warshaw, S (1996). Powersharing: White House – Cabinet relations in the modern presidency. Albany, N.Y: State University of New York Press. ISBN 0-7914-2869-9.
  • Weiner, Edmund, & John Simpson, eds. (1991). The Compact Edition of the Oxford English Dictionary (Second Edition). Oxford University Press. ISBN 0-19-861258-3. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)