วอลเลย์บอลอาเซียนกรังด์ปรีซ์ 2022

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงอาเซียนกรังด์ปรีซ์ 2022
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพ ไทย
เมืองจังหวัดนครราชสีมา
วันที่9–11 กันยายน
ทีม(จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศธงชาติไทย ไทย (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
อันดับที่ 3ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
อันดับที่ 4ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่าไทย พิมพิชยา ก๊กรัมย์
ตัวเซ็ตยอดเยี่ยมไทย พรพรรณ เกิดปราชญ์
ตัวตบหัวเสายอดเยี่ยมเวียดนาม Trần Thị Thanh Thúy
ไทย อัจฉราพร คงยศ
ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยมเวียดนาม Nguyễn Thị Trinh
ไทย ฑิชากร บุญเลิศ
ตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยมอินโดนีเซีย Megawati Hangestri Pertiwi
ตัวรับอิสระยอดเยี่ยมฟิลิปปินส์ Kyla Atienza
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน6
ผู้ชม22,400 (3,733 คนต่อนัด)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
อาเซียนกรังด์ปรีซ์ 2022

วอลเลย์บอลอาเซียนกรังด์ปรีซ์ 2022 (อังกฤษ: ASEAN Grand Prix 2022) (หรือ วอลเลย์บอลหญิง วัน อาเซียน กรังด์ปรีซ์ ครั้งที่ 2 (อังกฤษ: ONE 2nd ASEAN Grand Prix Women's Volleyball Invitation) ตามชื่อผู้สนับสนุน คือ เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์) เป็นการแข่งขันครั้งที่ 2 ของวอลเลย์บอลอาเซียนกรังด์ปรีซ์ ซึ่งแข่งขันโดยทีมวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจำนวน 4 ทีม ที่เป็นสมาชิกของสมาคมวอลเลย์บอลแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SAVA) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลกีฬาระดับภูมิภาคในสังกัดสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (AVC) โดยแข่งขันที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 9–11 กันยายน พ.ศ. 2565[1][2]

ทีม[แก้]

สถานที่แข่ง[แก้]

รายชื่อเมืองเจ้าภาพและสถานที่มีดังนี้:

นครราชสีมา ประเทศไทย
โคราช ชาติชาย ฮอลล์
ความจุ: 5,000

ผลการแข่งขัน[แก้]

อันดับ ทีม แข่ง ชนะ แพ้ คะแนน เซตชนะ เซตแพ้ อัตราส่วน แต้มชนะ แต้มแพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติไทย ไทย 3 3 0 9 9 0 MAX 226 164 1.378
2 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 3 2 1 6 6 3 2.000 210 171 1.228
3 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 3 1 2 3 3 6 0.500 180 219 0.822
4 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 3 0 3 0 0 9 0.000 164 226 0.726
แหล่งที่มา :
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
9 กันยายน 15:00 อินโดนีเซีย ธงชาติอินโดนีเซีย 0–3 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 23–25 19–25 9–25     51–75 รายงาน
9 กันยายน 18:00 ไทย ธงชาติไทย 3–0 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 25–17 25–22 25–12     75–51 รายงาน
10 กันยายน 15:00 เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม 3–0 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 25–12 25–16 25–16     75–44 รายงาน
10 กันยายน 18:00 อินโดนีเซีย ธงชาติอินโดนีเซีย 0–3 ธงชาติไทย ไทย 22–25 18–25 13–25     53–75 รายงาน
11 กันยายน 15:00 ฟิลิปปินส์ ธงชาติฟิลิปปินส์ 0–3 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 24–26 22–25 23–25     69–76 รายงาน
11 กันยายน 18:00 ไทย ธงชาติไทย 3–0 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 25–19 25–17 26–24     76–60 รายงาน

อันดับการแข่งขัน[แก้]

รางวัล[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. ปรีชาชาญ (2022-09-05). "Nakhon Ratchasima ready to welcome teams to 2nd ASEAN Grand Prix Women's Volleyball Invitation at Chartchai Hall" [นครราชสีมาพร้อมต้อนรับทีมลุยศึกวอลเลย์บอลหญิงอาเซียนกรังด์ปรีซ์ ครั้งที่ 2 ที่ชาติชายฮอลล์]. สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-09-06.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. ปรีชาชาญ (2022-09-07). "Vietnam, Indonesia, Philippines and hosts Thailand set to renew rivalries in 2nd ASEAN Grand Prix Women's Volleyball Invitation" [เวียดนาม, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์ และเจ้าภาพไทยเตรียมเริ่มการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงอาเซียนกรังด์ปรีซ์ครั้งที่ 2]. AVC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-09-09.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)