ลักษิกา คำขำ
หน้าตา
ประเทศ (กีฬา) | ไทย |
---|---|
ถิ่นพำนัก | จังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย |
วันเกิด | 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 จังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย |
ส่วนสูง | 1.67 m (5 ft 6 in) |
การเล่น | ถนัดขวา (ใช้มือทั้งสองข้าง) |
เงินรางวัล | 1,159,997 ดอลลาร์สหรัฐ |
เดี่ยว | |
สถิติอาชีพ | 353–177 |
รายการอาชีพที่ชนะ | 0 WTA 125K, 15 ITF |
อันดับสูงสุด | 66 (19 พฤศจิกายน 2018) |
อันดับปัจจุบัน | 333 (14 พฤศจิกายน 2022) |
ผลแกรนด์สแลมเดี่ยว | |
ออสเตรเลียนโอเพน | 3R (2018) |
เฟรนช์โอเพน | 1R (2014, 2018) |
วิมเบิลดัน | 2R (2018) |
ยูเอสโอเพน | Q2 (2014) |
คู่ | |
สถิติอาชีพ | 80–54 |
รายการอาชีพที่ชนะ | 0 WTA, 12 ITF |
อันดับสูงสุด | No. 86 (16 กรกฎาคม 2018) |
อันดับปัจจุบัน | No. 96 (14 มกราคม 2019) |
ผลแกรนด์สแลมคู่ | |
ออสเตรเลียนโอเพน | 1R (2019) |
วิมเบิลดัน | — |
วิมเบิลดันจูเนียร์ | 1R (2010) |
อัปเดตล่าสุดเมื่อ: 18 พฤศจิกายน 2022 |
สถิติเหรียญโอลิมปิก | ||
---|---|---|
เทนนิส | ||
เอเชียนเกมส์ | ||
อินชอน 2014 | หญิงคู่ | |
อินชอน 2014 | หญิงเดี่ยว | |
จาการ์ตา-ปาเล็มบัง 2018 | คู่ผสม | |
ซีเกมส์ | ||
2015 สิงค์โปร์ | ทีมหญิง | |
2017 กัวลาลัมเปอร์ | หญิงเดี่ยว | |
2021 เวียดนาม | หญิงเดี่ยว | |
2021 เวียดนาม | ทีมหญิง | |
2023 พนมเปญ | หญิงคู่ | |
2017 กัวลาลัมเปอร์ | หญิงคู่ | |
2023 พนมเปญ | ทีมหญิง | |
2021 เวียดนาม | คู่ผสม | |
2023 พนมเปญ | คู่ผสม |
ลักษิกา คำขำ (ชื่อเล่น:; เกิด: 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นนักเทนนิสชาวไทย อันดับสูงสุดของเทนนิสเยาวชนโลก คือ อันดับ 50 ในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2553 เธอได้จับคู่กับ Eugenie Bouchard นักเทนนิสเยาวชนชาวแคนาดา และเข้ารอบรองชนะเลิศในรายการเทนนิสเยาวชนหญิงคู่ของเทนนิสออสเตรเลียนโอเพน
ลักษิกา คำขำ สามารถสร้างผลงานเป็นที่ฮือฮา จากการแข่งขันเทนนิสออสเตรเลียนโอเพน 2014 ประเภทหญิงเดี่ยว รอบแรก ด้วยการเป็นฝ่ายชนะเปตรา ควิโตวา นักเทนนิสจากสาธารณรัฐเช็ก ผู้เป็นมือวางอันดับ 6 ของโลก[1][2]
ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ 2014 ที่อินชอน ประเทศเกาหลีใต้ ลักษิกาสามารถทำได้ 1 เหรียญทองในประเภทหญิงคู่ เมื่อจับคู่กับ แทมมารีน ธนสุกาญจน์ และ 1 เหรียญเงินในประเภทหญิงเดี่ยว
รางวัลที่ได้รับ
[แก้]- พ.ศ. 2558 - รางวัลนักกีฬาหญิงที่ได้รับการกล่าวถึงมากที่สุดในรอบปีที่ผ่านมา (MThai Top Talk-About Sportswomen)[3]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2566 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 3 ตติยดิเรกคุณาภรณ์ (ต.ภ.)[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 'ลักษิกา' ตามรอย 'แทมมี่' โค่นมือท็อป10-แชมป์แกรนด์สแลม - ข่าวไทยรัฐ
- ↑ กระหึ่ม!น้องลักคว่ำมือ 6 โลก โนเล่ยังฉลุย-วีนัสพลิกร่วง
- ↑ "บทสรุป!! นักกีฬาชาย-หญิง ที่ถูกพูดถึงมากสุด MThai Top Talk-About 2015". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-15. สืบค้นเมื่อ 2015-03-13.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๖๖, เล่ม ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๕ ข หน้า ๒๓, ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๖
หมวดหมู่:
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2536
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- นักเทนนิสหญิงชาวไทย
- ผู้เข้าแข่งขันโอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2010
- นักกีฬาเหรียญทองเอเชียนเกมส์ชาวไทย
- นักกีฬาเหรียญเงินเอเชียนเกมส์ชาวไทย
- นักกีฬาเหรียญทองซีเกมส์ชาวไทย
- นักกีฬาเหรียญเงินซีเกมส์ชาวไทย
- นักกีฬาเหรียญทองแดงซีเกมส์ชาวไทย
- นักกีฬาจากจังหวัดจันทบุรี
- บทความเกี่ยวกับ นักกีฬา ที่ยังไม่สมบูรณ์