เส้นเวลาของเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก รายชื่อเรือสำราญที่ติดอันดับใหญ่ที่สุดในโลก)
การวัดขนาดเรือโดยสารใช้หน่วยวัดแบบตันกรอส โดยมีการรวบรวมทำเป็นสถิติของเรือเดินสมุทรทั่วโลกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งเริ่มบันทึกใน ค.ศ. 1819 หรือ พ.ศ. 2362 จนถึงปัจจุบัน โดยแต่ละช่วงเวลามีเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดดังต่อไปนี้
ปีที่ประจำการ (ค.ศ.) | ปีที่ประจำการ (พ.ศ.) | ชื่อเรือ | สายการเดินเรือ | ขนาด (ตันกรอส) | สัญชาติ | รูปเรือ |
---|---|---|---|---|---|---|
1819–1831 | 2362–2374 | เอสเอส ซาวานนาห์ | บริษัท ซาวานนาห์สตีมชิป | 320 | สหรัฐ | |
1831–1838 | 2374–2381 | เอสเอส รอยัล วิลเลียม | บริษัท เซนต์จอห์น & แฮลิแฟกซ์สตีมเนวิเกชัน | 1,370[1] | แคนาดา | |
1838–1839 | 2381–2382 | เอสเอส เกรต เวสเทิร์น | บริษัท เกรตเวสเทิร์นสตีมชิป | 1,700[2] | สหราชอาณาจักร | |
1839–1840 | 2382–2383 | เอสเอส บริติช ควีน | บริษัท บริติช & อเมริกันสตีมเนวิเกชัน | 1,850[3] | สหราชอาณาจักร | |
1840–1845 | 2383–2388 | เอสเอส เพรซิเดนต์ | บริษัท บริติช & อเมริกันสตีมเนวิเกชัน | 2,366[4] | สหราชอาณาจักร | |
1845–1853 | 2388–2396 | เอสเอส เกรต บริเตน | บริษัท เกรตเวสเทิร์นสตีมชิป | 3,270[5] | สหราชอาณาจักร | |
1853–1853 | 2396–2396 | เอสเอส หิมาลายา | บริษัท พี & โอสตีมเนวิเกชัน | 3,438 | สหราชอาณาจักร | |
1853–1857 | 2396–2400 | เอสเอส เอตราโต | บริษัท รอยัลเมล์ไลน์ | 3,466[6] | สหราชอาณาจักร | |
1857–1858 | 2400–2401 | เอสเอส เอเดรียติก | บริษัท นิวยอร์ก & ลิเวอร์พูลยูไนเต็ดสเตตส์เมล์ เอส. เอส. (คอลลินส์) | 3,670[7] | สหรัฐ | |
1858–1867 | 2401–2410 | เอสเอส เกรตอีสเทิร์น | บริษัท อีสเทิร์นสตีมเนวิเกชัน | 18,915[8] | สหราชอาณาจักร | |
1867–1871 | 2410–2414 | อาร์เอ็มเอส รีพับลิก | บริษัท แปซิฟิกเมล์สตีมชิป | 4,352 | สหรัฐ | |
1871–1873 | 2414–2416 | อาร์เอ็มเอส อียิปต์ | บริษัท เนชันแนลไลน์ | 4,670 | สหราชอาณาจักร | |
1873–1874 | 2416–2417 | อาร์เอ็มเอส ซิตีออฟเชสเตอร์ | บริษัท อินแมนไลน์ | 4,770 | สหราชอาณาจักร | |
1874–1875 | 2417–2418 | อาร์เอ็มเอส บริแทนนิก | บริษัท ไวต์สตาร์ไลน์ | 5,008 | สหราชอาณาจักร | |
1875–1881 | 2418–2424 | เอสเอส ซิตีออฟเบอร์ลิน | บริษัท อินแมนไลน์ | 5,526 | สหราชอาณาจักร | |
1881–1881 | 2424–2424 | เอสเอส เซอร์เวีย | บริษัท คูนาร์ดไลน์ | 7,391 | สหราชอาณาจักร | |
1881–1888 | 2424–2431 | เอสเอส ซิตีออฟโรม | บริษัท อินแมนไลน์ | 8,415 | สหราชอาณาจักร | |
1888–1893 | 2431–2436 | เอสเอส ซิตีออฟนิวยอร์ก | บริษัท อินแมนไลน์ | 10,499[9] | สหราชอาณาจักร | |
1893–1897 | 2436–2440 | อาร์เอ็มเอส คัมปาเนีย | บริษัท คูนาร์ดไลน์ | 12,950[10] | สหราชอาณาจักร | |
1893–1897 | 2436–2440 | อาร์เอ็มเอส ลูคาเนีย | บริษัท คูนาร์ดไลน์ | 12,950[10] | สหราชอาณาจักร | |
1897–1899 | 2440–2442 | เอ็สเอ็ส ไคเซอร์วิลเฮ็ล์มแดร์โกรส | บริษัท นอร์ทด็อยท์เชอร์ล็อยท์ | 14,349[11] | เยอรมนี | |
1899–1901 | 2442–2444 | อาร์เอ็มเอส โอเชียนิก | บริษัท ไวต์สตาร์ไลน์ | 17,272[12] | สหราชอาณาจักร | |
1901–1905 | 2444–2448 | อาร์เอ็มเอส เซลติก | บริษัท ไวต์สตาร์ไลน์ | 21,035 | สหราชอาณาจักร | |
1905–1905 | 2448–2448 | เอ็สเอ็ส อาเมอรีคา | บริษัท ฮาพาค | 22,225 | เยอรมนี | |
1905–1906 | 2448–2449 | อาร์เอ็มเอส บอลติก | บริษัท ไวต์สตาร์ไลน์ | 23,876[13] | สหราชอาณาจักร | |
1906–1907 | 2449–2450 | เอ็สเอ็ส ไคเซอรีนเอากุสเทอวิคโทรีอา | บริษัท ฮาพาค | 24,581[14] | เยอรมนี | |
1907–1907 | 2450–2450 | อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย | บริษัท คูนาร์ดไลน์ | 31,550[15] | สหราชอาณาจักร | |
1907–1911 | 2450–2454 | อาร์เอ็มเอส มอริเทเนีย | บริษัท คูนาร์ดไลน์ | 31,938[15] | สหราชอาณาจักร | |
1911–1912 | 2454–2455 | อาร์เอ็มเอส โอลิมปิก | บริษัท ไวต์สตาร์ไลน์ | 45,234[16] | สหราชอาณาจักร | |
1912–1912 | 2455–2455 | อาร์เอ็มเอส ไททานิก | บริษัท ไวต์สตาร์ไลน์ | 46,328[17] | สหราชอาณาจักร | |
1912–1913 | 2455–2456 | อาร์เอ็มเอส โอลิมปิก (ซ่อมแซมต่อเติมเรือ) | บริษัท ไวต์สตาร์ไลน์ | 46,439 | สหราชอาณาจักร | |
1913–1914 | 2456–2457 | เอ็สเอ็ส อิมเพอราทอร์ | บริษัท ฮาพาค | 52,117[18] | เยอรมนี | |
1914–1914 | 2457–2457 | เอ็สเอ็ส ฟาเทอร์ลันท์ | บริษัท ฮาพาค | 54,282[19][20] | เยอรมนี | |
1914–1922 | 2457–2465 | เอ็สเอ็ส บิสมาร์ค | บริษัท ฮาพาค | 56,551 | สหรัฐ | |
1922–1935 | 2465–2478 | อาร์เอ็มเอส มาเจสติก (เอ็สเอ็ส บิสมาร์ค ที่ถูกซื้อและเปลี่ยนชื่อ) | บริษัท ไวต์สตาร์ไลน์ | 56,551 | สหราชอาณาจักร | |
1935–1940 | 2478–2483 | แอ็สแอ็ส นอร์ม็องดี | บริษัท กงเปญีเฌเนราลทร็องซัตล็องติก | 79,280 | ฝรั่งเศส | |
1935–1940 | 2478–2483 | แอ็สแอ็ส นอร์ม็องดี (หลังต่อเติม) | บริษัท กงเปญีเฌเนราลทร็องซัตล็องติก | 83,423[21] | ฝรั่งเศส | |
1940–1971 | 2483–2514 | อาร์เอ็มเอส ควีน เอลิซาเบธ | บริษัท คูนาร์ด-ไวต์สตาร์ | 83,673[22] | สหราชอาณาจักร | |
1971–1972 | 2514–2515 | เอสเอส ซีไวซ์ ยูนิเวอร์ซิตี (อาร์เอ็มเอส ควีน เอลิซาเบธ ที่ถูกซื้อและเปลี่ยนชื่อ) | บริษัท โอเรียนต์โอเวอร์ซีส์คอนเทนเนอร์ไลน์ | 83,673 | ฮ่องกง | |
1972–1984 | 2515–2527 | แอ็สแอ็ส ฟร็องส์ | บริษัท กงเปญีเฌเนราลทร็องซัตล็องติก | 66,343[23] | ฝรั่งเศส | |
1984–1988 | 2527–2531 | เอสเอส นอร์เวย์ (แอ็สแอ็ส ฟร็องส์ ที่ถูกซื้อ เปลี่ยนชื่อ ซ่อมแซม ต่อเติม) | บริษัท นอร์วีเจียนครูซไลน์ | 70,202 | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
1988–1990 | 2531–2533 | เอ็มเอส โซเวอเรน ออฟ เดอะ ซีส์ | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 73,192[24] | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
1990–1996 | 2533–2539 | เอสเอส นอร์เวย์ (ซ่อมแซมต่อเติมอีกครั้ง) | บริษัท นอร์วีเจียนครูซไลน์ | 76,049 | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
1996–1997 | 2539–2540 | เอ็มเอส คาร์นิวัล เดสตินี | บริษัท คาร์นิวัลครูซไลน์ | 101,509 | สหรัฐ | |
1997–1999 | 2540–2542 | เอ็มเอส แกรนด์ พรินเซส | บริษัท พี & โอ พรินเซสครูเซส | 108,865 | สหรัฐและสหราชอาณาจักร | |
1999–2000 | 2542–2543 | เอ็มเอส วอยเอเจอร์ ออฟ เดอะ ซีส์ | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 137,276 | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2000–2004 | 2543–2547 | เอ็มเอส เอกซ์พลอเรอร์ ออฟ เดอะ ซีส์ | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 137,308 | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2004–2006 | 2547–2549 | อาร์เอ็มเอส ควีน แมรี 2 | บริษัท คูนาร์ดไลน์ | 148,528[25] | สหราชอาณาจักร | |
2006–2009 | 2549–2552 | เอ็มเอส ฟรีดอม ออฟ เดอะ ซีส์ | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 154,407[26] | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2007–2009 | 2550–2552 | เอ็มเอส ลิเบอร์ตี ออฟ เดอะ ซีส์ (เรือแฝด) | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 154,407 | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2008–2009 | 2551–2552 | เอ็มเอส อินดิเพนเดนซ์ ออฟ เดอะ ซีส์ (เรือแฝดอีกลำ) | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 154,407 | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2009–2010 | 2552–2553 | เอ็มเอส โอเอซิส ออฟ เดอะ ซีส์ | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 225,282[27] | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2010–2016 | 2553–2559 | เอ็มเอส อัลเลอร์ ออฟ เดอะ ซีส์ (เรือแฝด) | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 225,282 | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2016–2017 | 2559–2560 | เอ็มเอส ฮาร์มอนี ออฟ เดอะ ซีส์ | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 226,953 | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2018–2022 | 2561–2565 | เอ็มเอส ซิมโฟนี ออฟ เดอะ ซีส์ | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 228,081 | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2022–2022 | 2565–2565 | เอ็มเอส วันเดอร์ ออฟ เดอะ ซีส์ | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 236,857[28] | นอร์เวย์และสหรัฐ | |
2022–ปัจจุบัน | 2565–ปัจจุบัน | เอ็มเอส ไอคอน ออฟ เดอะ ซีส์ | บริษัท รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล | 250,800[29] | นอร์เวย์และสหรัฐ |
- เอสเอส เกรตอีสเทิร์น เป็นเรือลำที่มีขนาดก้าวกระโดดเมื่อเทียบกับยุคนั้น หลังการปลดระวางการใช้เรือ เกรดอีสเทิร์น ก็ไม่มีเรือโดยสารลำใดในโลกที่ใหญ่กว่านานถึง 34 ปี
- เช่นเดียวกับเรือ อาร์เอ็มเอส ควีน เอลิซาเบธ หลังเรือประสบอุบัติเหตุไฟไหม้จนต้องปลดระวาง ก็ไม่มีเรือโดยสารลำใดใหญ่กว่าเป็นเวลานานถึง 24 ปี
- ภายหลังการอับปางของเรืออาร์เอ็มเอสไททานิก เรือโอลิมปิก ได้รับการปรับปรุงอีกครั้งเพื่อเพิ่มความปลอดภัย โอลิมปิก จึงขึ้นตำแหน่งเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดอีกครั้งก่อนที่เรือ เอสเอส อิมเพอเรเตอร์ ที่ออกบริการในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1913 ได้รับตำแหน่งนี้
- เป็นที่น่าสังเกตว่าไม่มีเรือควีนแมรี ติดอันดับ เนื่องจาก ควีนแมรี ได้รับการออกแบบให้มีขนาดใหญ่กว่าเรือนอร์ม็องดี ซึ่งมีขนาดดั้งเดิม 79,280 ตัน แต่ก่อนหน้าที่เรือ ควีนแมรี ออกบริการ เรือ นอร์ม็องดี ก็ได้รับการต่อเติมอีก จึงมีขนาด 83,423 ตัน ซึ่งถึงแม้ว่า ควีนแมรี ต่อเติมส่วนอื่น ๆ แต่ก็ได้แค่ 81,235 ตัน
- เรือโดยสาร ไอคอนออฟเดอะซีส์ ของรอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล สัญชาตินอร์เวย์และสหรัฐเป็นเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีกำหนดแล้วเสร็จสมบูรณ์ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2024 ขนาด 250,800 ตัน ใหญ่กว่าเรือ อาร์เอ็มเอสไททานิก ถึง 5.4 เท่า และเป็นเรือโดยสารลำแรกของโลกที่ใช้พลังงานจากแก๊สธรรมชาติ จุผู้คนได้มากที่สุด 9,950 คน ความยาวเรือ 365 เมตร จำนวน 20 ชั้น
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Boileau, John (2006). Samuel Cunard: Nova Scotia's Master of the North Atlantic. Formac Publishing Company Limited. p. 44. ISBN 978-0-88780-712-1.
- ↑ Freeman Hunt (1844). Merchants' Magazine and Commercial Review, Volume 10. New York City: 142 Fulton Street. p. 383.
- ↑ Corlett, Ewan (1975). The Iron Ship: the Story of Brunel's ss Great Britain. Conway.
- ↑ Gerhard Falk (2013). Twelve Inventions which Changed America: The Influence of Technology on American Culture. Rowman & Littlefield. p. 8. ISBN 978-0-7618-6080-8.
- ↑ William L. Garrison; David M. Levinson (2005). The Transportation Experience: Policy, Planning, and Deployment. Oxford University Press. p. 210. ISBN 978-0-19-534673-2.
- ↑ "Atrato". clydeships.co.uk. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2019.
- ↑ "Thing - SS Adriatic 12 Cent Stamp - 1869 - Historic photos, documents, and people". Archive Project (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2023.
- ↑ Dawson, Philip S. (2005). The Liner. Chrysalis Books. p. 37. ISBN 978-0-85177-938-6.
- ↑ "City of New York". clydeships.co.uk. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2019.
- ↑ 10.0 10.1 Mark Chirnside (2015). RMS Olympic: Titanic's Sister. The History Press. p. 9. ISBN 978-0-7509-6348-0.
- ↑ Congressional Edition, Volume 5796. U.S. Government Printing Office. 1909. p. 114.
- ↑ William H. Miller (2001). Picture History of British Ocean Liners, 1900 to the Present. Courier Corporation. p. 8. ISBN 978-0-486-41532-1.
- ↑ Paul Oldfield (2017). Victoria Crosses on the Western Front: Third Ypres 1917: 31 July 1917 – 6 November 1917. Pen and Sword. ISBN 978-1-4738-8485-4.
- ↑ Anne Sinkler Whaley LeClercq (2012). Elizabeth Sinkler Coxe's Tales from the Grand Tour, 1890-1910. Univ of South Carolina Press. ISBN 978-1-61117-210-2.
- ↑ 15.0 15.1 Watts, Philip (1911). . ใน Chisholm, Hugh (บ.ก.). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 24 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. pp. 880–970, see page 970.
- ↑ Chirnside, Mark (2011). The 'Olympic' Class Ships. The History Press. p. 142. ISBN 978-0-7524-5895-3.
- ↑ Proceedings - Institution of Mechanical Engineers. Institution of Mechanical Engineers. 1912. p. 553.
- ↑ J. Kent Layton (2009). "Imperator". AtlanticLiners.com. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2020.
- ↑ "Vaterland/Leviathan". The Great Ocean Liners. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 มิถุนายน 2017. สืบค้นเมื่อ 9 ตุลาคม 2011.
- ↑ Merchant Vessels of the United States 1924-1925. Washington, D.C.: Department of Commerce, Bureau of Navigation. 1925. p. 132. hdl:2027/osu.32435066707100. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2021.
- ↑ Super Liners. Vol. 103. Life magazine. 1936. p. 13.
By August, the Normandie, having increased her tonnage, was again the World's Largest Liner
- ↑ William H. Miller (2021). A New Age-A New Queen. Queen Elizabeth 2: Ship of Legend. Fonthill Media.
- ↑ Ships Monthly. Vol. 35. Waterway Productions Limited. 2000. p. 12. ISBN 978-1-86176-117-0.
- ↑ Shipowners/Managers/Operators: Norway. Lloyd's Maritime Directory. Vol. 2. Lloyd's of London Press. 2006. p. 731.
- ↑ The Motor Ship, Volume 85. IPC Industrial Press Limited. 2004. p. 9.
- ↑ "2016-2017 Royal Caribbean Fleet Guide" (PDF). Royal Caribbean International. 26 กุมภาพันธ์ 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 มีนาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2016.
- ↑ Sam Dodge; Ana Franca; Mark Oliver (5 กุมภาพันธ์ 2016). "Oasis of the Seas, the world's largest cruise ship, in numbers". The Daily Telegraph. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2020.
- ↑ "Wonder of the Seas Fact Sheet". Royal Caribbean Press Center. Royal Caribbean Group. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2022.
- ↑ "Icon of the Seas Ship Details Revealed - Cruise Critic". www.cruisecritic.com.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เส้นเวลาโดย HMY Yachts – ข้อมูลเพิ่มเติมขนาดเรือ