รถถังครูเซเดอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถถัง, ครุยเซอร์, เอ็มเค6
ครูเซเดอร์ 3 ที่ถูกจัดแสดง
ชนิดรถถังครุยเซอร์
แหล่งกำเนิดสหราชอาณาจักร
บทบาท
ประจำการ1941–1945
สงครามสงครามโลกครั้งที่สอง
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบNuffield
ช่วงการออกแบบ1939/1940
บริษัทผู้ผลิตNuffield Mechanizations and Aero Ltd
ช่วงการผลิต1940–1943
จำนวนที่ผลิต5,300
ข้อมูลจำเพาะ
มวล18.8 ถึง 19.7 long ton (19.1 ถึง 20.0 t)
ความยาว20 ft 8.5 in[1] (5.97 m)[a]
ความกว้าง9 ft 1 in (2.77 m)[b]
ความสูง7 ft 4 in (2.24 m)
ลูกเรือMk III: 3 (Commander, gunner, driver)
Mk I, II: 4 or 5 (+ Loader, hull gunner)

เกราะMk I: 40 mm
Mk II: 49, III: 51[c]
อาวุธหลัก
Mk I, II: QF 2 pdr (40 mm) 110 rounds
Mk III: QF 6 pdr (57 mm) 65 rounds
อาวุธรอง
1 or 2 × Besa machine gun
4,950 rounds[1]
เครื่องยนต์Nuffield Liberty Mark II, III, or IV
27-litre V-12 petrol engine
340 bhp (254 kW) at 1,500 rpm
กำลัง/น้ำหนัก17 hp (12.7 kW) / tonne
เครื่องถ่ายกำลังNuffield constant mesh
4-speed-and-reverse
กันสะเทือนChristie helical spring
ความสูงจากพื้นรถ1 ft 4 in (0.41 m)
ความจุเชื้อเพลิง110 Imperial gallons in 3 fuel tanks (+30 auxiliary)
พิสัยปฏิบัติการ
200 mi (322 km) on roads
146 mi (235 km) cross country[2]
ความเร็ว26 mph (42 km/h) (road)
15 mph (24 km/h) (off-road)
ระบบบังคับเลี้ยว
Wilson epicyclic steering

รถถัง, ครุยเซอร์, เอ็มเค6 หรือ เอ15 ครูเซเดอร์ เป็นหนึ่งในรถถังครุยเซอร์(ลาดตระเวน)หลักของบริติชในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง จำนวนกว่า 5,000 คันได้ถูกผลิตขึ้นมาและพวกเขาเหล่านี้มีส่วนสำคัญต่อการได้รับชัยชนะของบริติซในช่วงการทัพแอฟริกาเหนือ รถถังครูเซเดอร์นั้นไม่ได้ถูกพบเห็นในการปฏิบัติการรบอื่นๆนอกเหนือจากแอฟริกา แต่ตัวรถถังนั้นได้ถูกนำมาดัดแปลงแก้ไขเพื่อสร้างให้เป็นการต่อต้านอากาศยาน การยิงสนับสนุน สังเกตการณ์ รถดันดิน และกู้เก็บยานพาหนะต่างๆ

รถถังรุ่นแรกอย่าง 'ครูเซเดอร์ 1' ได้เข้าประจำการในปี ค.ศ. 1941 และแม้ว่าจะคล่องตัว, มันเป็นยานพาหนะที่มีเกราะที่ค่อนข้างเบาและติดอาวุธได้น้อย ด้วยการปรับปรุงให้เกราะมีความหนาถึง 49 มม. ซึ่งได้แปรเปลี่ยนเป็น 'ครูเซเดอร์ 2' อาวุธหลักของ ครูเซเดอร์ มาร์ค 1 และ 2 คือปืนหลัก Ordnance QF 2 pounder (40มม.) แต่ครูเซเดอร์ 3 ได้ถูกติดตั้งด้วยปืนหลัก Ordnance QF 6 pounder (57มม.) ด้วยรถถังรุ่นนี้เป็นมากกว่าการแข่งขันสำหรับรถถังของเยอรมันอย่าง พันเซอร์ 3 และ พันเซอร์ 4 ที่ได้เผชิญหน้ากันในสนามรบ ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกองพันยานเกราะที่หนึ่ง ครูเซเดอร์ได้รับการพิสูจน์ในความสำคัญครั้งนี้ในช่วงยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่สอง ที่ทูบลัก และในตูนีเซีย

ด้วยการที่ได้ถูกสงวนเอาไว้ในประจำการ เนื่องจากความล่าช้าพร้อมกับความเปลี่ยนแปลงในช่วงปลายปี ค.ศ. 1942 การขาดแคลนในการอัพเกรดอาวุธ รวมทั้งปัญหาความน่าเชื่อถือที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสภาพอากาศในทะเลทรายที่รุนแรงและการปรากฏตัวของรถถังหนัก ทีเกอร์-1 ในท่ามกลางกองทัพน้อยแอฟริกาของเยอรมัน ดังนั้นจึงเห็นได้ว่า รถถังครูเซเดอร์ได้ถูกแทนที่ด้วยรถถังเอ็ม3 แกรนต์ และรถถังขนาดกลาง เชอร์แมน ที่สหรัฐอเมริกาได้จัดหามาให้

ประเทศที่ใช้[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Boyd (2008).
  2. Bingham[ต้องการเลขหน้า]
  3. Carruthers, Bob (2011). Panzers at War 1939–1942. Wootton Wawen: Coda Books. ISBN 978-1906783884.[ต้องการเลขหน้า]


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน