ยุทธการที่มาดากัสการ์

พิกัด: 12°16′S 49°17′E / 12.267°S 49.283°E / -12.267; 49.283
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการเกาะมาดากัสการ์
ส่วนหนึ่งของ ภูมิภาคมหาสมุทรอินเดียในสงครามโลกครั้งที่สอง

กองปืนใหญ่ 25 เพาเดอร์ของไรเฟิลคิงแอฟริกากำลังปฏิบัติหน้าที่ใกล้กับแอมโบซิตราในมาดากัสการ์ต่อกรกับตำแหน่งของวิชีในช่วงปฏิบัติการสายกระแสน้ำเจนในเดือนกันยายน ค.ศ.1942.
วันที่5 พฤษภาคม ค.ศ. 1942 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1942
สถานที่12°16′S 49°17′E / 12.267°S 49.283°E / -12.267; 49.283
ผล ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ฝรั่งเศสเสรีได้เข้าบริหารปกครองที่ถูกจัดตั้งขึ้นในเกาะมาดากัสการ์
คู่สงคราม

จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ

 ออสเตรเลีย (ทางเรือเท่านั้น)
 แอฟริกาใต้
เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (ทางเรือเท่านั้น)

ฝ่ายสนับสนุนที่ไม่ได้เข้าร่วมรบ:

เบลเยียม เบลเยียม

โปแลนด์ โปแลนด์

ฝรั่งเศสเขตวีชี วิชีฝรั่งเศส


จักรวรรดิญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (ทางเรือเท่านั้น)

ฝ่ายสนับสนุนที่ไม่ได้เข้าร่วมรบ:

นาซีเยอรมนี เยอรมนี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
10,000–15,000 soldiers (land forces) Vichy France:
8,000 troops[1]
6 tanks
35 aircraft[2]
4 warships[3]
ความสูญเสีย
  • 620 casualties in total (107 killed in action; 280 wounded; 108 died from disease)[2]
  • 1 battleship heavily damaged
  • 1 oil tanker sunk
  • 150 killed in action; 500 wounded (does not include any casualties caused by disease)[2]
  • ~1,000 POW[4]
  • 2 midget submarines destroyed
ยุทธการที่มาดากัสการ์ตั้งอยู่ในมาดากัสการ์
ยุทธการที่มาดากัสการ์
Location of Diego Suarez Bay
แม่แบบ:Campaignbox Indian Ocean Theatreแม่แบบ:Campaignbox Vichy France Military in World War II

ยุทธการเกาะมาดากัสการ์ เป็นการทัพของบริติชเพื่อเข้ายึดครองเกาะมาดากัสการ์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของฝรั่งเศสวิชีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง การยึดครองเกาะโดยบริติชเพื่อขัดขวางไม่ให้กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นใช้เกาะมาดากัสการ์เป็นฐานทัพเรือและป้องกันไม่ให้เกิดความสูญเสียหรืออ่อนแอลงของสายการเดินเรือของฝ่ายสัมพันธมิตร เริ่มต้นด้วยปฏิบัติการไอรอนแคลด เข้ายึดครองท่าเรือเดียโก เซาเรซ(Diego Suarez) ใกล้กับทางตอนเหนือสุดของเกาะ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1942[1]

ภายหลังจากการทัพครั้งนี้เพื่อคุ้มครองทั่วทั้งเกาะ ปฏิบัติการสายกระแสน้ำเจน(Operation Stream Line Jane) ได้เปิดฉากขึ้นเมื่อวันที่ 10 กันยายน ฝ่ายสัมพันธมิตรได้บุกทะลวงเข้าไปด้านในเพื่อเชื่อมต่อกับกองกำลังบนชายฝั่งและเข้ายึดครองเกาะไว้ได้แล้วในปลายเดือนตุลาคม การสู้รบได้ยุติลงและสงบศึก เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน นี่เป็นครั้งแรกที่ปฏิบัติการขนาดใหญ่ที่ถูกใช้โดยฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง รวมทั้งกองทัพเรือ กองทัพบก และกองทัพอากาศ[5]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Rigge pp 103-04
  2. 2.0 2.1 2.2 Wessels 1996.
  3. Stapleton, Timothy J. A Military History of Africa p. 225
  4. Winston Churchill, Prime Minister (10 พฤศจิกายน 1942). http://hansard.millbanksystems.com/commons/1942/nov/10/madagascar-operations#column_2259. Parliamentary Debates (Hansard). House of Commons. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 พฤษภาคม 2014. {{cite book}}: |chapter-url= missing title (help) เก็บถาวร 2014-05-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  5. Rigge p. 100